27 ตุลาคม 2552
9 ตุลาคม 2552
เทคนิคการขัดมันผิวพื้นด้วยผง Floorhardener
ขั้นตอนการขัดมันด้วยผง FLOOR HARDENER
หลังจากเทคอนกรีนแล้วเสร็๗ จัดช่างปูนทำความสะอาดตามแนวรอยต่อระหว่างคอนกรีตเก่าและใหม่
ก่อนที่คอนกรีตใหม่จะเริ่มเซ็ตตัว
1. เมื่อปูนเริ่มเซ็ทตัว (ทดสอบโดยการเหยียบด้วยเท้า) ให้ทำการเปิดหน้าปูนด้วย ถาดหยาบ
2. ลากกล่องอลูมิเนียม ปรับระดับแบบหยาบ ก่อนลงผง Floorhardener
3 การโรย Floor Hardener ให้แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก ประมาณ 60 – 70 % ( เช่น 5 กก./ถุง ก็ใช้ 3.5 กก. )
ขัดด้วยถาดหยาบ ลากกล่องอลูมิเนียมควมคุมระดับ แล้วโรยผงส่วนที่เหลือ
4. เสร็จแล้วขัดหน้าด้วยถาดขัดหยาบ
5. เช็คระรับแบบละเอียดครั้งสุดท้าย คอนกรีตเริ่มเซ็ตตัว
6. ก่อนคอนกรีตเซ็ตตัว ต้องคอยเก็บเศษปูน และทำความสะอาดรอยต่อคอนกรีต
7 อาศัยประสบการณ์ของ นายช่าง โฟรแมนและช่างปูน หลังจากใช้ถาดขัดหยาบขัดผิวจนรู้สึกได้ว่า
ผิวคอนกรีตไม่มีการยุบหรือยุบตัวน้อยมาก ให้เริ่มใช้เครื่องขัดสองใบพัด (คอปเตอร์)
8 หลังจากนั้นให้ลงเครื่องขัดแมงปอขนาด 5 แรง
10. ให้สังเกตว่าผิวพื้นว่าแห้ง พอที่จะเก็บเกรียง (ด้วยมือ) หรือยัง ปัจจุบันไม่นิยมเพราะผิวมันจะเป็นรอยเกรียง
แต่จะจบด้วยเครื่องขัดมัน 4 แรง ที่นำเข้าจากต่างประเทศ
11. หลังจากขัดมันเสร็จ โดยประมาณ 3 ชม. ให้บ่มน้ำยา Cureseal type F ของ Samson และหลังจากนั้นล้างออกด้วย
น้ำยา Degreaser type A หรือจะลดค่าใช้จ่ายด้วยการบ่มน้ำแทน ขึ้นอยู่กับความต้องการของเจ้าของงาน
4. การควบคุมผิว
- การควบคุม Slump ของ Concrete ต้องให้ได้ตามที่ Design และมีความสม่ำเสมอ
- การควบคุมเวลาในการเทคอนกรีตควรให้ต่อเนื่องกัน และการเทคอนกรีตในแต่ละ Bay ควรเป็นหน้าและเป็นแนวเดียวกัน
หรือการหยุดรอคอนกรีตควรหยุดให้เป็นแนวตั้งฉากกับ Joint ไม่ควรหยุดในลักษณะเว้าๆ แหว่งๆ
- การโปรยผง Hardener ควรโปรยด้วยความสม่ำเสมอ
- การเก็บเกรียงด้วยมือควรใช้น้ำหนักกดเกรียงให้สม่ำเสมอ และช่วงระยะห่างของการเก็บเกรียงด้วยมือควรมีช่วงระยะ
ที่สม่ำเสมอ การเก็บรอยเกรียงควรทำไปพร้อมกับการเก็บเกรียงด้วยมือโดยใช้ไฟส่องดูว่าเป็นคลื่นหรือไม่และควรเก็บ
แต่งก่อนผิวหน้าจะ set ตัว
จากประสบการณ์ การเก็บเกรียงขั้นตอนสุดท้ายของการขัดมันด้วยเกรียงมือ จะทำให้เห็นรอยเกรียงโค้งเป็นใบพัด
แต่ถ้าขั้นตอนสุดท้ายขัดมันด้วย เครื่องขัดแมงปอชนิดนำเข้าจากต่างประเทศ จะทำให้ผิวเรียบเป็นระเบียบมากกว่า
ข้อควรระวัง
- เพื่อความสวยงามของพื้นคอนกรีตควร Set ตำแหน่งรอยต่อ joint ให้หลบในที่ลับตาหรือบริเวณที่มีสิ่งของมาบังไว้
- การเก็บน้ำปูนหรือขี้ปูนที่ล้นเข้าไปใน Concrete Bay เก่าและเก็บรอยต่อให้ดี ถ้าเก็บไม่ดีจะเกิดเป็นรอยตะเข็บเกิดขึ้น
- ในบริเวณจุดตัว Joint ให้เป็นสี่แยกตลอด และไม่ควรตัด Joint ให้เป็นมุมฉากมุม, มุมเว้า
- ในส่วนพื้นที่โครงสร้างต่างชนิดกันควรตัด Joint แยกจากกันเป็น Slab on ground กับ Slab on beam
- ตรงส่วนมุมเว้า มุมแหลม ควรเสริมเหล็กกันแตกเสมอ รวมถึงบริเวณ Block out วงกบ โดยใช้ความยาวเท่ากับ 3 d
การขัดมันด้วยผง Floor hardener การขัดมันด้วยผง Floor hardener การขัดมันด้วยผง Floor hardener
แนะนำ ขั้นตอนการ Stressing and Grouting
หลังจากเทคอนกรีนแล้วเสร็๗ จัดช่างปูนทำความสะอาดตามแนวรอยต่อระหว่างคอนกรีตเก่าและใหม่
ก่อนที่คอนกรีตใหม่จะเริ่มเซ็ตตัว
1. เมื่อปูนเริ่มเซ็ทตัว (ทดสอบโดยการเหยียบด้วยเท้า) ให้ทำการเปิดหน้าปูนด้วย ถาดหยาบ
2. ลากกล่องอลูมิเนียม ปรับระดับแบบหยาบ ก่อนลงผง Floorhardener
3 การโรย Floor Hardener ให้แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก ประมาณ 60 – 70 % ( เช่น 5 กก./ถุง ก็ใช้ 3.5 กก. )
ขัดด้วยถาดหยาบ ลากกล่องอลูมิเนียมควมคุมระดับ แล้วโรยผงส่วนที่เหลือ
4. เสร็จแล้วขัดหน้าด้วยถาดขัดหยาบ
5. เช็คระรับแบบละเอียดครั้งสุดท้าย คอนกรีตเริ่มเซ็ตตัว
6. ก่อนคอนกรีตเซ็ตตัว ต้องคอยเก็บเศษปูน และทำความสะอาดรอยต่อคอนกรีต
7 อาศัยประสบการณ์ของ นายช่าง โฟรแมนและช่างปูน หลังจากใช้ถาดขัดหยาบขัดผิวจนรู้สึกได้ว่า
ผิวคอนกรีตไม่มีการยุบหรือยุบตัวน้อยมาก ให้เริ่มใช้เครื่องขัดสองใบพัด (คอปเตอร์)
8 หลังจากนั้นให้ลงเครื่องขัดแมงปอขนาด 5 แรง
10. ให้สังเกตว่าผิวพื้นว่าแห้ง พอที่จะเก็บเกรียง (ด้วยมือ) หรือยัง ปัจจุบันไม่นิยมเพราะผิวมันจะเป็นรอยเกรียง
แต่จะจบด้วยเครื่องขัดมัน 4 แรง ที่นำเข้าจากต่างประเทศ
จาก construction 09 |
น้ำยา Degreaser type A หรือจะลดค่าใช้จ่ายด้วยการบ่มน้ำแทน ขึ้นอยู่กับความต้องการของเจ้าของงาน
4. การควบคุมผิว
- การควบคุม Slump ของ Concrete ต้องให้ได้ตามที่ Design และมีความสม่ำเสมอ
- การควบคุมเวลาในการเทคอนกรีตควรให้ต่อเนื่องกัน และการเทคอนกรีตในแต่ละ Bay ควรเป็นหน้าและเป็นแนวเดียวกัน
หรือการหยุดรอคอนกรีตควรหยุดให้เป็นแนวตั้งฉากกับ Joint ไม่ควรหยุดในลักษณะเว้าๆ แหว่งๆ
- การโปรยผง Hardener ควรโปรยด้วยความสม่ำเสมอ
- การเก็บเกรียงด้วยมือควรใช้น้ำหนักกดเกรียงให้สม่ำเสมอ และช่วงระยะห่างของการเก็บเกรียงด้วยมือควรมีช่วงระยะ
ที่สม่ำเสมอ การเก็บรอยเกรียงควรทำไปพร้อมกับการเก็บเกรียงด้วยมือโดยใช้ไฟส่องดูว่าเป็นคลื่นหรือไม่และควรเก็บ
แต่งก่อนผิวหน้าจะ set ตัว
จากประสบการณ์ การเก็บเกรียงขั้นตอนสุดท้ายของการขัดมันด้วยเกรียงมือ จะทำให้เห็นรอยเกรียงโค้งเป็นใบพัด
แต่ถ้าขั้นตอนสุดท้ายขัดมันด้วย เครื่องขัดแมงปอชนิดนำเข้าจากต่างประเทศ จะทำให้ผิวเรียบเป็นระเบียบมากกว่า
ข้อควรระวัง
- เพื่อความสวยงามของพื้นคอนกรีตควร Set ตำแหน่งรอยต่อ joint ให้หลบในที่ลับตาหรือบริเวณที่มีสิ่งของมาบังไว้
- การเก็บน้ำปูนหรือขี้ปูนที่ล้นเข้าไปใน Concrete Bay เก่าและเก็บรอยต่อให้ดี ถ้าเก็บไม่ดีจะเกิดเป็นรอยตะเข็บเกิดขึ้น
- ในบริเวณจุดตัว Joint ให้เป็นสี่แยกตลอด และไม่ควรตัด Joint ให้เป็นมุมฉากมุม, มุมเว้า
- ในส่วนพื้นที่โครงสร้างต่างชนิดกันควรตัด Joint แยกจากกันเป็น Slab on ground กับ Slab on beam
- ตรงส่วนมุมเว้า มุมแหลม ควรเสริมเหล็กกันแตกเสมอ รวมถึงบริเวณ Block out วงกบ โดยใช้ความยาวเท่ากับ 3 d
การขัดมันด้วยผง Floor hardener การขัดมันด้วยผง Floor hardener การขัดมันด้วยผง Floor hardener
แนะนำ ขั้นตอนการ Stressing and Grouting
8 ตุลาคม 2552
Underground water tank and Waste water treatment.
Method Statement For. Underground water tank and Waste water treatment.
1. When Shop dwg. for construction old revision and revise1 WWT approved
2. Material Approve for all waterproof approved
แถบยางกันซึม ชนิด PVC Waterstops
วัสดุกันซึมภายใน WWT ชนิด water base epoxy
วัสดุกันซึมผนังภายนอก UWT&WWT ชนิด Self adhesive membrane ,cold applied self 1.5 mm thk.
วัสดุกันซึมผนังภายใน UWT ชนิด Cement Base waterproofing
3. ลำดับของงานหลังจากงานฐานรากแล้วเสร็จ บริเวณ Sump pump เตรียมงานเพื่อเทคอนกรีต ถึงระดับใต้พื้น -1.70 m. เนื่องจาก sump pump และพื้นระดับ -1.70 เทไม่ต่อเนื่องกัน ดังนั้นจะต้องติดตั้ง PVC waterstops ที่รอยต่อคอนกรีตบริเวณนี้
4. การติดตั้ง water stop ต้องติดตั้งให้ถูกวิธี หากไม่ถูกวิธี เมื่อเทคอนกรีต waterstops อาจถูกคอนกรีตทับ เท่ากับเปิดทางให้น้ำซึมผ่านผนังคอนกรีตได้ง่าย วิธีป้องกันควรใช้ลวดเหล็กหรืออื่น ๆ ช่วยยึดระยะทุก ๆ 20 cm. การต่อ PVC waterstops ควรกระทำตามข้อแนะนำของผู้ผลิต
5. บริเวณหลุม drop cylo กับพื้นของบ่อบำบัด ให้ทำการเทคอนกรีตครั้งเดียว โดยติดตั้ง ไม้แบบลอย ดังนั้น จึงไม่ต้อง ติดตั้ง
PVC waterstops
6. การเตรียมงานไม้แบบ งานเหล็ก ,วัสดุกันซึม เพื่อการเทคอนกรีต
6.1 ปรับดินเทคอนกรีตหยาบ
6.2 ปู membrane กันซึมพื้นทั้งหมด โดยเผื่อระยะทาบ แนวตั้งของผนัง 30 cm.
6.3 กรณีปูชนฐานราก ให้ทำตามรูปด้านล่าง
6.4 ลงเหล็กพื้นทาบตามแบบที่กำหนด
6.5 ลงเหล็กผนังตามแบบที่กำหนด
6.6 ติดตั้ง PVC waterstops ระหว่างพื้นและผนังดังรูป
6.7 ติดตั้ง PVC waterstops ของผนังที่เทคอนกรีต ก่อนและหลัง ดังรูป
7. ผนังที่สัมผัสดินและน้ำใต้ดิน ทำกันซึมด้วยวิธีติดตั้ง membrane เพื่อป้องกันน้ำซึมด้านข้าง ก่อนถมดินให้ติดตั้งแผ่นวีวี่บอร์ดประกบ membrane เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับแผ่น membrane
8. ลำดับการเทผนัง ให้เทผนังรอบนอกทั้งหมดก่อน หลังจากนั้นให้เทผนังภายในตามลำดับ
9. เมื่อเทคอนกรีตแล้วเสร็จ สำหรับ UWT ให้ทำกันซึมภายใน โดยระบบ Cement Base waterproofing
สำหรับ WWT ให้ทำกันซึมภายใน โดยระบบ water base epoxy
10. วิธีการทดสอบการรั่วซึมของ ถังน้ำดี และบ่อบำบัดน้ำเสีย
8.1 กรณีเป็นถังน้ำบนดิน จะทำการทดสอบโดยวิธีขังน้ำ
8.2 กรณี ถังน้ำใต้ดิน จะทำการตรวจสอบการรั่วซึมของผนัง / พื้นก่อนทำกันซึม หากพบว่ามีการรั่วซึมการแก้ไขปัญหา
เบื้องต้นจะใช้วัสดุอุด water plug หากยังเกิดการรั่วซึมอีก ให้ทำการ ยิงโฟม (INJECTION PU FOAM) การยิงน้ำยานั้น จะทำการเจาะบริเวณที่เกิดการรั่วซึม แล้วฝังหัว (PACKER) เป็นหัวที่ใช้ในการเสียบสายต่อจากเครื่องยิงน้ำยา แล้วทำการยิงน้ำยา เมื่อยิงน้ำยาแล้วนั้น น้ำยาที่ยิงเข้าไปจะวิ่งเข้าไปยังรอยต่อ ช่องว่างต่าง ๆ ภายในตัวคอนกรีต ซึ่งน้ำสามารถรั่วซึมออกไปได้นั้น จะทำปฏิกิริยากับน้ำ หรืออากาศ สร้างตัวเป็นแผ่นโฟมยาง ปิดกั้นทางเดินของน้ำไม่ให้น้ำนั้นไหลซึมผ่านออกไปได้อีก
1. When Shop dwg. for construction old revision and revise1 WWT approved
2. Material Approve for all waterproof approved
แถบยางกันซึม ชนิด PVC Waterstops
วัสดุกันซึมภายใน WWT ชนิด water base epoxy
วัสดุกันซึมผนังภายนอก UWT&WWT ชนิด Self adhesive membrane ,cold applied self 1.5 mm thk.
วัสดุกันซึมผนังภายใน UWT ชนิด Cement Base waterproofing
3. ลำดับของงานหลังจากงานฐานรากแล้วเสร็จ บริเวณ Sump pump เตรียมงานเพื่อเทคอนกรีต ถึงระดับใต้พื้น -1.70 m. เนื่องจาก sump pump และพื้นระดับ -1.70 เทไม่ต่อเนื่องกัน ดังนั้นจะต้องติดตั้ง PVC waterstops ที่รอยต่อคอนกรีตบริเวณนี้
4. การติดตั้ง water stop ต้องติดตั้งให้ถูกวิธี หากไม่ถูกวิธี เมื่อเทคอนกรีต waterstops อาจถูกคอนกรีตทับ เท่ากับเปิดทางให้น้ำซึมผ่านผนังคอนกรีตได้ง่าย วิธีป้องกันควรใช้ลวดเหล็กหรืออื่น ๆ ช่วยยึดระยะทุก ๆ 20 cm. การต่อ PVC waterstops ควรกระทำตามข้อแนะนำของผู้ผลิต
5. บริเวณหลุม drop cylo กับพื้นของบ่อบำบัด ให้ทำการเทคอนกรีตครั้งเดียว โดยติดตั้ง ไม้แบบลอย ดังนั้น จึงไม่ต้อง ติดตั้ง
PVC waterstops
6. การเตรียมงานไม้แบบ งานเหล็ก ,วัสดุกันซึม เพื่อการเทคอนกรีต
6.1 ปรับดินเทคอนกรีตหยาบ
6.2 ปู membrane กันซึมพื้นทั้งหมด โดยเผื่อระยะทาบ แนวตั้งของผนัง 30 cm.
6.3 กรณีปูชนฐานราก ให้ทำตามรูปด้านล่าง
6.4 ลงเหล็กพื้นทาบตามแบบที่กำหนด
6.5 ลงเหล็กผนังตามแบบที่กำหนด
6.6 ติดตั้ง PVC waterstops ระหว่างพื้นและผนังดังรูป
6.7 ติดตั้ง PVC waterstops ของผนังที่เทคอนกรีต ก่อนและหลัง ดังรูป
7. ผนังที่สัมผัสดินและน้ำใต้ดิน ทำกันซึมด้วยวิธีติดตั้ง membrane เพื่อป้องกันน้ำซึมด้านข้าง ก่อนถมดินให้ติดตั้งแผ่นวีวี่บอร์ดประกบ membrane เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับแผ่น membrane
8. ลำดับการเทผนัง ให้เทผนังรอบนอกทั้งหมดก่อน หลังจากนั้นให้เทผนังภายในตามลำดับ
9. เมื่อเทคอนกรีตแล้วเสร็จ สำหรับ UWT ให้ทำกันซึมภายใน โดยระบบ Cement Base waterproofing
สำหรับ WWT ให้ทำกันซึมภายใน โดยระบบ water base epoxy
10. วิธีการทดสอบการรั่วซึมของ ถังน้ำดี และบ่อบำบัดน้ำเสีย
8.1 กรณีเป็นถังน้ำบนดิน จะทำการทดสอบโดยวิธีขังน้ำ
8.2 กรณี ถังน้ำใต้ดิน จะทำการตรวจสอบการรั่วซึมของผนัง / พื้นก่อนทำกันซึม หากพบว่ามีการรั่วซึมการแก้ไขปัญหา
เบื้องต้นจะใช้วัสดุอุด water plug หากยังเกิดการรั่วซึมอีก ให้ทำการ ยิงโฟม (INJECTION PU FOAM) การยิงน้ำยานั้น จะทำการเจาะบริเวณที่เกิดการรั่วซึม แล้วฝังหัว (PACKER) เป็นหัวที่ใช้ในการเสียบสายต่อจากเครื่องยิงน้ำยา แล้วทำการยิงน้ำยา เมื่อยิงน้ำยาแล้วนั้น น้ำยาที่ยิงเข้าไปจะวิ่งเข้าไปยังรอยต่อ ช่องว่างต่าง ๆ ภายในตัวคอนกรีต ซึ่งน้ำสามารถรั่วซึมออกไปได้นั้น จะทำปฏิกิริยากับน้ำ หรืออากาศ สร้างตัวเป็นแผ่นโฟมยาง ปิดกั้นทางเดินของน้ำไม่ให้น้ำนั้นไหลซึมผ่านออกไปได้อีก
Blog Master
B.ENGINEERING (CIVIL ENGINEER)
EXPERIENCE
Construction Line Co.,ltd.
July 2009 - Present
:
Project Manager:
RHYTHMratchada II
At Huai Khwang,Bangkok
For . Asian Property Development PLC.
Project cost 275,000,000 Baht
:
Ritta Co.,ltd.
Sep 2008 - May 2009
:
Project Manager:
Recall Thailand Phase II
At Samutprakarn Province
For . Recall Thailand Co.,Ltd.
Project cost 177,000,000 Baht
April - August 2008
:
Project Manager:
Tesco Lotus Hypermarket Pranburi
At Pranburi Prajuabkirikhan Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 163,710,000 Baht
Nov 2007 - Mar 2008
:
Project Manager:
Tesco Lotus Hypermarket Sena
At SENA Ayuttaya Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 139,100,000 Baht
July-October 2007
:
Project Manager:
Tesco Lotus Value Store Mae Chan
At Mae Chan Chiangrai Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 115,934,500 Baht
Jan -June 2007
:
Project Manager:
Tesco Lotus Compack Hyper Fang
At Fang Chiangmai Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 235,593,670 Baht
April -December 2006
Project Manager:
Tesco Lotus Distribution Bangbuathong
At Bangbuathong Nonthaburi Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 360,000,000 Baht
Dec 2005- March 2006
:
Project Manager:
Tesco Lotus Value Store Sattahip
At Sattahip Chonburi Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 54,000,000 Baht
April -Nov 2005
:
Project Manager:
Tesco Lotus Value Store Maesai
At Maesai Chringrai Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 154,000,000 Baht
Dec 2004 - March 2005
:
Project Engineer for :-
Ban Zaan Fresh Market
At Patong,Katoo District,Phuket Provine
For Kaewmaneepichai
Project cost 145,000,000 Baht
Sep -Nov 2004
:
Project Engineer for :-
Sweet Corn Factory
At Wangmung,Saraburi Province
For Siam Food Product Public Co.,Ltd.
Project cost 250,000,000 Baht
April-August 2004
:
Project Manager for:
Tesco Lotus Value Store Nakornpanom
At Nakorn Panom Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 74,880,000 Baht
Sep 2003 – March2004
:
Project Engineer for :
Tesco Lotus Value Store Mukdaharn
At Mukdaharn Province
For Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 115,600,000 Baht
Mar 2003 – Aug 2003
:
Project Engineer for :
Bio Plant Phukiow
At Phukiow District,Chaiyapoom Province
Project cost 50,000,000 Baht
Mar 2002 – Feb 2003
:
Site Civil Engineer :-
DAVID DISTRIBUTION ( THAILAND ) LTD.
New Distribution Center Project Wangnoi,
Ayutaya Province
Project cost 275,000,000 Baht
Jul 2001 – Feb 2002
:
Site Civil Engineer :-
BEER THAI ( 1991 ) PCL
BTCL – KP Project ( Bid -6 ) Kampangphet Province
Project cost 226,000,000 Baht
Feb 2000 - Jun 2001
:
Site Civil Engineer :-
BEER THAI ( 1991 ) LTD.
BTCL – KP Project ( Bid – 1) Kamphangphet Province
Project cost 285,000,000 Baht
21 Jul 1999 – Jan 2000
:
Site Civil Engineer :-
Start work at Ritta
DISCOUNT STORE PROJECT ( MAKRO SATHORN )
Project cost 300,000,000 Baht
1998 – 1999
:
Work at Mar Engineering Co.,ltd ,Position Civil Engineer
WORK AT LAO PDR
Irrigation Project
1995 - 1998
:
Work at Waltzen Enterprize Co.,ltd ,Position site Civil Engineer
National Housing Authority
KEHA RAMKUMHANG
Project cost 900,000,000 Baht
http://mybuilt.blogspot.com
EXPERIENCE
Construction Line Co.,ltd.
July 2009 - Present
:
Project Manager:
RHYTHMratchada II
At Huai Khwang,Bangkok
For . Asian Property Development PLC.
Project cost 275,000,000 Baht
:
Ritta Co.,ltd.
Sep 2008 - May 2009
:
Project Manager:
Recall Thailand Phase II
At Samutprakarn Province
For . Recall Thailand Co.,Ltd.
Project cost 177,000,000 Baht
April - August 2008
:
Project Manager:
Tesco Lotus Hypermarket Pranburi
At Pranburi Prajuabkirikhan Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 163,710,000 Baht
Nov 2007 - Mar 2008
:
Project Manager:
Tesco Lotus Hypermarket Sena
At SENA Ayuttaya Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 139,100,000 Baht
July-October 2007
:
Project Manager:
Tesco Lotus Value Store Mae Chan
At Mae Chan Chiangrai Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 115,934,500 Baht
Jan -June 2007
:
Project Manager:
Tesco Lotus Compack Hyper Fang
At Fang Chiangmai Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 235,593,670 Baht
April -December 2006
Project Manager:
Tesco Lotus Distribution Bangbuathong
At Bangbuathong Nonthaburi Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 360,000,000 Baht
Dec 2005- March 2006
:
Project Manager:
Tesco Lotus Value Store Sattahip
At Sattahip Chonburi Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 54,000,000 Baht
April -Nov 2005
:
Project Manager:
Tesco Lotus Value Store Maesai
At Maesai Chringrai Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 154,000,000 Baht
Dec 2004 - March 2005
:
Project Engineer for :-
Ban Zaan Fresh Market
At Patong,Katoo District,Phuket Provine
For Kaewmaneepichai
Project cost 145,000,000 Baht
Sep -Nov 2004
:
Project Engineer for :-
Sweet Corn Factory
At Wangmung,Saraburi Province
For Siam Food Product Public Co.,Ltd.
Project cost 250,000,000 Baht
April-August 2004
:
Project Manager for:
Tesco Lotus Value Store Nakornpanom
At Nakorn Panom Province
For . Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 74,880,000 Baht
Sep 2003 – March2004
:
Project Engineer for :
Tesco Lotus Value Store Mukdaharn
At Mukdaharn Province
For Ek-Chai Distribution Co.,Ltd.
Project cost 115,600,000 Baht
Mar 2003 – Aug 2003
:
Project Engineer for :
Bio Plant Phukiow
At Phukiow District,Chaiyapoom Province
Project cost 50,000,000 Baht
Mar 2002 – Feb 2003
:
Site Civil Engineer :-
DAVID DISTRIBUTION ( THAILAND ) LTD.
New Distribution Center Project Wangnoi,
Ayutaya Province
Project cost 275,000,000 Baht
Jul 2001 – Feb 2002
:
Site Civil Engineer :-
BEER THAI ( 1991 ) PCL
BTCL – KP Project ( Bid -6 ) Kampangphet Province
Project cost 226,000,000 Baht
Feb 2000 - Jun 2001
:
Site Civil Engineer :-
BEER THAI ( 1991 ) LTD.
BTCL – KP Project ( Bid – 1) Kamphangphet Province
Project cost 285,000,000 Baht
21 Jul 1999 – Jan 2000
:
Site Civil Engineer :-
Start work at Ritta
DISCOUNT STORE PROJECT ( MAKRO SATHORN )
Project cost 300,000,000 Baht
1998 – 1999
:
Work at Mar Engineering Co.,ltd ,Position Civil Engineer
WORK AT LAO PDR
Irrigation Project
1995 - 1998
:
Work at Waltzen Enterprize Co.,ltd ,Position site Civil Engineer
National Housing Authority
KEHA RAMKUMHANG
Project cost 900,000,000 Baht
http://mybuilt.blogspot.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)