18 กันยายน 2551

การบุกระเบื้องผนัง


Method statement Ceramic Laying
1
ทำการฉาบผนังในส่วนที่จะปูกระเบื้อง และขูดหน้าหยาบไว้ก่อน
2
ทำการวาง off set line เพื่อหา line แนว start การปูกระเบื้อง
3
ศึกษารายละเอียดของห้องแต่ละห้องว่าใช้กระเบื้อง Tone, เฉด, สีอะไร, ปูสลับลายหรือใช้ Tone
สีเดียวตลอด, ความสูงที่จะปู, ตำแหน่งสุขภัณฑ์ภายในห้อง
4
ทำการปูกระเบื้องโดยเริ่มแผ่น Start ตาม Shop Drawing ของแต่ละห้อง เพื่อจัดตำแหน่งของแผ่นให้ลงตัว
และเหมาะสมกับสุขภัณฑ์ที่จะติดตั้งในแต่ละห้องโดยเว้นร่องสำหรับยาแนวประมาณ 2 มม.ใช้ไม้สามเหลี่ยม
ช่วยในการจัดระนาบของกระเบื้องที่ปู

5
ในส่วนที่เป็นมุม และจุดสิ้นสุดต้องใส่คิ้ว PVC. และต้องเลือกใช้สีตามที่กำหนดใน Shop Drawing

6
ทำการยาแนวกระเบื้องตาม Tone สีของกระเบื้อง
ข้อควรระวัง
1
แผ่น Start ต้องเริ่มตาม Shop Drawing เสมอ
2
รายละเอียดเกี่ยวกับตำแหน่งของสุขภัณฑ์ และตำแหน่งต้อง Hole ไว้ก่อน
3
เฉดสี และ Tone สีต้องถูกต้องตาม Shop Drawing และที่เสนอ Approve
ควรใช้กระเบื้องล็อตเดียวกันในแต่ละห้อง
4
การป้ายปูนต้องให้เต็มทั่วทั้งแผ่นไม่ให้เกิดโพรง ( ตรวจสอบโดยใช้เหรียญเคาะดูตามแผ่น )
Other
-
ตำแหน่งประตู หน้าต่าง จะต้องมีเสาเอ็น - ทับหลัง
-
หลังจากตีเส้นแนวผนังแล้ว ต้องตรวจสอบว่าแนวผนังห้องได้ฉากหรือไม่โดยการดึงทะแยง
-
วัสดุที่ใช้ในการเจาะเสียบเหล็ก ได้แก่ Sikadur กรัมกรีต ฯลฯ
-
รอยต่ออิฐ ควรมีความหนาแน่นใกล้เคียงกันคือ 1 - 1.5 ซม.
-
การก่ออิฐปิดใต้ท้องคานจะต้องทิ้งช่วงไว้สัก 1 - 2วัน แล้วจึงก่อปิด
-
กรณีที่ต้องฉาบมากกว่า 2 ซม. อาจจะเนื่องมาจากเสา หรือผนังล้มดิ่ง จะต้องฉาบทีละชั้น
ความหนา 1-1.5 ซม. ต่อชั้น โดยปูนเค็มจัด เพื่อให้ปูนฉาบแห้ง และก่อตัวได้เร็ว แล้วฉาบ
ชั้นต่อไปได้
-
ถ้าต้องการฉาบหนามากๆ ตั้งแต่ 5 ซม. จะต้องกรุตระแกรงกรงไก่ไว้เป็นชั้นๆด้วย
-
สเปย์น้ำที่ผนังปูนฉาบติดต่อกันอีก 2-3 วัน ( โดยเฉพาะผนังภายนอก )

Hanging wall with Gypsumboard
งานฝ้า T-bar
งานฝ้าฉาบเรียบ
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่

ไม่มีความคิดเห็น: