Method statement วิธีก่อผนัง Q-CON BLOCK
1
ผสมปูนทรายทั่วไปสำหรับปรับระดับ Block ชั้นแรก และผสมปูนก่อ Q-CON เพื่อประสานระหว่าง
Block
2
ตักปูนทรายทั่วไปป้ายลงบนพื้นตามแนวก่อผนังหนาประมาณ 3 - 4 ซม. เริ่มวาง Q-CON Block
ก้อนแรกลงไปบนปูนทราย ใช้ค้อนยางเคาะปรับแต่งให้ได้แนวระดับ โดยอาศัยแนวเชือก หรือสาย-
เอ็นที่ขึงไว้สำหรับทำระดับแล้ว
3
ใช้เกรียงก่อ Q-CON ตักปูนก่อ Q-CON ป้ายลงด้านข้างของก้อนแรก โดยลาก
จากด้านล่างขึ้นมาจนเต็มก้อน ความหนาของปูนก่อ 2 - 3 มม. และวางก้อนที่ 2 ให้ชิดกับก้อนแรก
ปรับระดับด้วยค้อนยาง และระดับน้ำแล้วก่อต่อไปด้วยวิธีเดียวกันจนเสร็จแนวก่อชั้นแรก
4
เริ่มก่อน BLOCK ชั้นที่ 2 โดยใช้เลื่อยตัด BLOCK ครึ่งก้อนแล้วป้ายปูนก่อ Q-CON ลงด้านบนของ
BLOCK ชั้นแรก แล้วจึงยก BLOCK ชั้นที่ 2 วางทับลงไป จากนั้นใช้ค้อนยางเคาะปรับระดับเช่นเดียวกัน
ทั้งนี้ให้แนวรอยต่อก้อนเยื้องสลับกันอย่างน้อย 10 ซม. แล้วก่อชั้นต่อไปด้วยวิธีเดียวกันจนแล้วเสร็จ
5
เมื่อก่อบล๊อคชนกับโครงสร้าง เช่น เสา คสล. ให้ยึดผนัง โดยใช้แผ่นเหล็ก ( Metal Strap ) ตอกยึดด้วย
ตะปูคอนกรีตทุกๆ 2 ชั้น ของแนวก่อ BLOCK ( ทั้งนี้ให้ป้ายปูนก่อระหว่างแนวรอยต่อวัสดุด้วย )
6
ถ้าหากต้องการตัด BLOCK ให้ใช้เลื่อยมือ Q-CON หรือ เลื่อยวงเดือน และควรใช้เหล็กฉากเพื่อ
การตัดที่ได้ฉาก เพื่อให้ได้แนวรอยต่อที่แนบสนิทแข็งแรง
7
แนวบนสุดของผนังให้เหลือช่องว่างใต้คาน หรือพื้นประมาณ 2-3 ซม. และอุดด้วยปูนทรายทั่วไปให้เต็ม
กรณีโครงสร้างคานหรือพื้นของอาคารมีการแอ่นตัวมาก เช่นพื้น Post-tensioned ให้อุดด้วยแผ่นโฟม
แล้วจึงอุดปูนทรายทั้งสองด้าน
งานติดตั้ง วงกบประตูหน้าต่าง
การปู หรือ บุ ผนังกระเบื้อง
งานฝ้า T-bar
งานฝ้าฉาบเรียบ
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ งานสถาปัตยกรรม แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ งานสถาปัตยกรรม แสดงบทความทั้งหมด
18 กันยายน 2551
งานก่ออิฐ ฉาบปูน
Method Statement Block waall and Plaster
1. การเตรียมการ
1.1
ให้เริ่มทำ Curb คอนกรีต กว้าง 6 ซ.ม. สูง 10 ซ.ม. เป็น Support ของคอนกรีตบล็อค หนา 7 ซ.ม.
1.2
เจาะเสียบเหล็กยึดรอยต่อผนังยึดติดกับเสาทุก 60 ซ.ม. และเสียบเหล็ก 9 มม. ยาว 40 ซ.ม.
ให้ยื่นออกจากเสา 30 ซ.ม. โดยใช้ Epoxy
1.3
ตีเส้นแนวก่ออิฐคอนกรีตบล็อค ลงบนเสาเพื่อเป็นแนวก่ออิฐคอนกรีตบล็อค
2. การทำงาน
2.1
ปรับระดับ Curb คอนกรีตให้ได้ระดับ โดยใช้ปูนก่อจัดแนวระดับ
2.2
เริ่มวางอิฐคอนกรีตบล็อค ก้อนแรกลงไปบนปูนทราย ใช้เกรียงก่อเคาะปรับแต่งให้ได้แนวและ
ระดับโดยอาศัยแนวเสาเอ็นที่ขึงไว้
2.3
ใช้เกรียงก่ออิฐตัดปูนก่อ ป้ายลงด้านข้างของก้อนแรก โดยลากจากด้านล่างขึ้นจนเต็มก้อน
ความหนาปูนก่อประมาณ 0.5 - 1 ซ.ม. และวางก้อนที่ 2 ให้ชิดกับก้อนแรก ปรับระดับด้วย
เกรียงก่อและระดับน้ำแล้วก่อต่อไปด้วยวิธีเดียวกัน จนเสร็จแนวก่อชั้นแรก
2.4
เริ่มก่อชั้นที่ 2 โดยใช้เกรียงขีดที่อิฐที่ต้องการ แล้วใช้เกรียงก่อเคาะอิฐคอนกรีตบล็อคป้ายปูนก่อ
ลงด้านบนของอิฐคอนกรีตบล็อคชั้นแรก แล้วยกอิฐคอนกรีตบล็อคชั้นที่ 2วางทับลงไป ใช้เกรียง
ก่อเคาะปรับระดับ ให้แนวรอยต่อเยื้องสลับกัน แล้วก่อชั้นต่อไปด้วยวิธีเดียวกันจนเสร็จ การก่อ
ควรได้ระดับและแนวดิ่งด้วย
2.5
การก่อถ้ามีประตูหรือหน้าต่างในกำแพง ควรเว้นช่องไว้และทำเสาเอ็น - ทับหลัง
2.6
ก่อนฉาบทุกครั้งต้องติดตาข่ายลูกกรงไก่ทุกครั้ง ทาบติดกับเสาเอ็น และ ทับหลัง เพื่อป้องกัน
การแตกร้าว
2.7
สำหรับผนังริมอาคาร แนวก่ออิฐ - ฉาบปูน ควรเว้นเข้าในอาคารจากหน้าเสา / คาน ประมาณ 1 นิ้ว
หรือ การก่อ - ฉาบโชว์แนวเสา / คานนั้นเอง
2.8
กรณีที่ต้องฉาบมากกว่า 2 ซ.ม. อาจจะเนื่องจากเสาหรือผนังล้มดิ่ง จะต้องฉาบทีละชั้น ความหนา
1 - 1.5 ซ.ม. ต่อชั้นโดยใช้ปูนเค็มจัด เพื่อให้ปูนฉาบแห้งและก่อตัวได้เร็วแล้วฉาบชั้นต่อไปได้
ข้อควรระวัง
- ตำแหน่งประตูหน้าต่าง จะต้องมีเสาเอ็น - ทับหลัง
- หลังจากตีเส้นแนวผนังแล้ว ต้องตรวจสอบว่าแนวผนังห้องได้ฉากหรือไม่โดยการดึงทะแยง
- วัสดุที่ใช้ในการเจาะเสียบเหล็ก ได้แก่ Sikadur, กรัมกรีต, 3 M ฯลฯ
- รอยต่ออิฐ ควรมีความหนาแน่นใหล้เคียงกันคือ 1 - 1.5 ซม.
- การก่ออิฐปิดใต้ท้องคานจะต้องทิ้งช่วงไว้สัก 1 - 2วัน แล้วจึงก่อปิด
- กรณีที่ต้องฉาบมากกว่า 2 ซม. อาจเนื่องมาจากเสา หรือผนังล้มนิ่ง จะต้องฉาบทีละชั้น ความหนา
1 - 1.5 ซม. ต่อชั้นโดยปูนเค็มจัด เพื่อให้ปูนฉาบแห้ง และก่อตัวได้เร็ว และแาบขั้นต่อไปได้
- ถ้าต้องการฉาบหนามากๆ ตั้งแต่ 5 ซม. จะต้องกรุตระแกรงกรงไก่ไว้เป็นชั้นๆ ด้วย
- Spray น้ำที่ผนังปูนฉาบติดต่อกันอีก 2 - 3 วัน (โดยเฉพาะผนังภายนอก )
สิ่งที่ต้องทำ
1. จัดทำ Mock-Up เพื่อไว้เป็นงานอ้างอิง หรือเป็นตัวอย่าง ขนาดอย่างน้อย 6 ตร.ม. ทั้งงานก่ออิฐและฉาบปูน
2. ทดสอบช่างก่ออิฐ - ฉาบปูน แล้วออก Test Certificate Card รวมทั้งตรวจสอบและติดตามผล
( Test Certificate / Test Record )
** Test Certificate จะมีระยะเวลากำหนด 1 ปี และสามารถนำไปใช้ได้ทุกโครงการ
** Test Certificate เมื่อหมดอายุ สามารถขอให้ QA / QC Inspector ออกบัตรใหม่
โดยอาจมีการทดสอบใหม่หรือไม่ก็ได้
ตัวอย่าง Test Certificate Card
ก่อผนังด้วย Q-Con Block
งานติดตั้ง วงกบประตูหน้าต่าง
การปู หรือ บุ ผนังกระเบื้อง
งานฝ้า T-bar
งานฝ้าฉาบเรียบ
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
การทำ ฝ้าทีบาร์ T-bar
Method statement for T-Bar Installation
ขั้นตอนการติดตั้ง
1
ยึดฉากผนัง ที-บาร์ กับผนังโดยรอบให้ได้ระยะที่ต้องการ
2
ยึดฉากเหล็ก 2 รูเข้ากับโครงสร้างอาคารให้ได้แนว โดยวางระยะห่างกัน 1.20 x 1.20 ม.
ด้วยพุกเหล็ก 6 มม.หรือ Check จุด Start ของโครงฝ้าว่าจัดให้เศษไปอยู่ตรงไหน เพื่อจะได้จัด
ระยะโครงคร่าว Main ถูก
3
ยึดปลายด้านหนึ่งของลวดเข้ากับฉากเหล็ก 2 รู
4
สอดปลายอีกด้านหนึ่งของลวดเข้ากับสปริงปรับระดับและชุดหิ้วทีจี ที-บาร์ ด้วยสปริงปรับระดับ
5
ยึดชุดหิ้ว ทีจี ที-บาร์ กับเมนรันเนอร์ 3.60 ม.
6
สอดครอสรันเนอร์ 1.20 ม. ให้ได้ฉากกับเมนรันเนอร์ เว้นช่วงห่างกัน 0.60 ม.
โดยตลอด จะได้แนวโครงคร่าวขนาด0.60 x 1.20 ม.แต่ถ้าต้องการขนาดโครงคร่าว 0.60 x 0.60 ม.
ให้เพิ่มครอสรันเนอร์ 0.60 ม. ระหว่างกลางของครอสรันเนอร์ 1.20 ม.
7
ปรับระดับโครงคร่าวทั้งระบบอย่างละเอียดที่สปริงปรับระดับ
8
วางแผ่นยิปซัมของไทยยิปซัมที่ทาสีเรียบร้อยแล้วขนาด 59.5 x 59.5 ซม. ( หนา 9 มม. ) หรือ
59.5 x 119.5 ซม. ( หนา 12 มม. ) บนโครงคร่าว ทีจี ที-บาร์ตามต้องการ
9
ถ้าโครงคร่าว T-Bar มีช่วง Span ยาวให้ดึงเอ็นหัวท้าย เพื่อจัด Alignment ของโครงคร่าว
งานฝ้าฉาบเรียบ
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
ขั้นตอนการติดตั้ง
1
ยึดฉากผนัง ที-บาร์ กับผนังโดยรอบให้ได้ระยะที่ต้องการ
2
ยึดฉากเหล็ก 2 รูเข้ากับโครงสร้างอาคารให้ได้แนว โดยวางระยะห่างกัน 1.20 x 1.20 ม.
ด้วยพุกเหล็ก 6 มม.หรือ Check จุด Start ของโครงฝ้าว่าจัดให้เศษไปอยู่ตรงไหน เพื่อจะได้จัด
ระยะโครงคร่าว Main ถูก
3
ยึดปลายด้านหนึ่งของลวดเข้ากับฉากเหล็ก 2 รู
4
สอดปลายอีกด้านหนึ่งของลวดเข้ากับสปริงปรับระดับและชุดหิ้วทีจี ที-บาร์ ด้วยสปริงปรับระดับ
5
ยึดชุดหิ้ว ทีจี ที-บาร์ กับเมนรันเนอร์ 3.60 ม.
6
สอดครอสรันเนอร์ 1.20 ม. ให้ได้ฉากกับเมนรันเนอร์ เว้นช่วงห่างกัน 0.60 ม.
โดยตลอด จะได้แนวโครงคร่าวขนาด0.60 x 1.20 ม.แต่ถ้าต้องการขนาดโครงคร่าว 0.60 x 0.60 ม.
ให้เพิ่มครอสรันเนอร์ 0.60 ม. ระหว่างกลางของครอสรันเนอร์ 1.20 ม.
7
ปรับระดับโครงคร่าวทั้งระบบอย่างละเอียดที่สปริงปรับระดับ
8
วางแผ่นยิปซัมของไทยยิปซัมที่ทาสีเรียบร้อยแล้วขนาด 59.5 x 59.5 ซม. ( หนา 9 มม. ) หรือ
59.5 x 119.5 ซม. ( หนา 12 มม. ) บนโครงคร่าว ทีจี ที-บาร์ตามต้องการ
9
ถ้าโครงคร่าว T-Bar มีช่วง Span ยาวให้ดึงเอ็นหัวท้าย เพื่อจัด Alignment ของโครงคร่าว
งานฝ้าฉาบเรียบ
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
การทำฝ้าฉาบเรียบ
Method statement ฝ้าฉาบเรียบ
1
ยึดฉากผนังฉาบเรียบกับผนังโดยรอบ ให้ได้ระดับที่ต้องการ
2
ยึดฉากเหล็ก 2 รู เข้ากับโครงสร้างอาคาร ให้ได้แนว โดยวางระยะห่างกัน 1.20 x 1.20 ม.
ด้วยพุกเหล็ก 6 มม.
3
ยึดปลายด้านหนึ่งของลวดเข้ากับฉากเหล็ก 2 รู
4
สอดปลายอีกด้านหนึ่งของลวดเข้ากับสปริงปรับระดับและชุดหิ้ว ทีจี-เฟอร์ริ่ง ปรับระดับชุดหิ้วทีจี-เฟอร์ริ่ง
ด้วยสปริงปรับระดับ
5
ใช้ทีจี-เฟอร์ริ่งเป็นโครงคร่าวบน ติดเข้ากับชุดหิ้วทีจี-เฟอร์ริ่ง ทุกระยะ 1.20 ม.
6
ใช้ทีจี-เฟอร์ริ่ง เป็นโครงคร่าวล่างติดเข้ากับโครงคร่าวบนด้วยล็อคกิ้งคี ทีจี-เฟอร์ริ่ง โดยวางแนวให้
ได้ฉากกับโครงคร่าวบน
** วางโครงคร่าวล่าง ห่าง 0.40 ม. สำหรับติดแผ่นแผ่นยิบซัมของไทยยิบซัมหนา 9 มม.
** วางโครงคร่าวล่าง ห่าง 0.60 ม. สำหรับติดแผ่นแผ่นยิบซัมของไทยยิบซัมหนา 12 มม.
7
ปรับระดับโครงคร่าวทั้งระบบอย่างละเอียดที่สปริงปรับระดับ
8
ติดแผ่นยิบซัมของไทยยิบซัมชนิดขอบลาดเข้ากับโครงคร่าวล่างด้วยสกรูเกลียวปล่อยทุกระยะ 30 ซม.
และฉาบรอบรอยต่อก่อนทาสีทับตามต้องการ
งานขัดผิวมัน พื้นด้วยผง Floor hardener
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
1
ยึดฉากผนังฉาบเรียบกับผนังโดยรอบ ให้ได้ระดับที่ต้องการ
2
ยึดฉากเหล็ก 2 รู เข้ากับโครงสร้างอาคาร ให้ได้แนว โดยวางระยะห่างกัน 1.20 x 1.20 ม.
ด้วยพุกเหล็ก 6 มม.
3
ยึดปลายด้านหนึ่งของลวดเข้ากับฉากเหล็ก 2 รู
4
สอดปลายอีกด้านหนึ่งของลวดเข้ากับสปริงปรับระดับและชุดหิ้ว ทีจี-เฟอร์ริ่ง ปรับระดับชุดหิ้วทีจี-เฟอร์ริ่ง
ด้วยสปริงปรับระดับ
5
ใช้ทีจี-เฟอร์ริ่งเป็นโครงคร่าวบน ติดเข้ากับชุดหิ้วทีจี-เฟอร์ริ่ง ทุกระยะ 1.20 ม.
6
ใช้ทีจี-เฟอร์ริ่ง เป็นโครงคร่าวล่างติดเข้ากับโครงคร่าวบนด้วยล็อคกิ้งคี ทีจี-เฟอร์ริ่ง โดยวางแนวให้
ได้ฉากกับโครงคร่าวบน
** วางโครงคร่าวล่าง ห่าง 0.40 ม. สำหรับติดแผ่นแผ่นยิบซัมของไทยยิบซัมหนา 9 มม.
** วางโครงคร่าวล่าง ห่าง 0.60 ม. สำหรับติดแผ่นแผ่นยิบซัมของไทยยิบซัมหนา 12 มม.
7
ปรับระดับโครงคร่าวทั้งระบบอย่างละเอียดที่สปริงปรับระดับ
8
ติดแผ่นยิบซัมของไทยยิบซัมชนิดขอบลาดเข้ากับโครงคร่าวล่างด้วยสกรูเกลียวปล่อยทุกระยะ 30 ซม.
และฉาบรอบรอยต่อก่อนทาสีทับตามต้องการ
งานขัดผิวมัน พื้นด้วยผง Floor hardener
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
การบุกระเบื้องผนัง
Method statement Ceramic Laying
1
ทำการฉาบผนังในส่วนที่จะปูกระเบื้อง และขูดหน้าหยาบไว้ก่อน
2
ทำการวาง off set line เพื่อหา line แนว start การปูกระเบื้อง
3
ศึกษารายละเอียดของห้องแต่ละห้องว่าใช้กระเบื้อง Tone, เฉด, สีอะไร, ปูสลับลายหรือใช้ Tone
สีเดียวตลอด, ความสูงที่จะปู, ตำแหน่งสุขภัณฑ์ภายในห้อง
4
ทำการปูกระเบื้องโดยเริ่มแผ่น Start ตาม Shop Drawing ของแต่ละห้อง เพื่อจัดตำแหน่งของแผ่นให้ลงตัว
และเหมาะสมกับสุขภัณฑ์ที่จะติดตั้งในแต่ละห้องโดยเว้นร่องสำหรับยาแนวประมาณ 2 มม.ใช้ไม้สามเหลี่ยม
ช่วยในการจัดระนาบของกระเบื้องที่ปู
5
ในส่วนที่เป็นมุม และจุดสิ้นสุดต้องใส่คิ้ว PVC. และต้องเลือกใช้สีตามที่กำหนดใน Shop Drawing
6
ทำการยาแนวกระเบื้องตาม Tone สีของกระเบื้อง
ข้อควรระวัง
1
แผ่น Start ต้องเริ่มตาม Shop Drawing เสมอ
2
รายละเอียดเกี่ยวกับตำแหน่งของสุขภัณฑ์ และตำแหน่งต้อง Hole ไว้ก่อน
3
เฉดสี และ Tone สีต้องถูกต้องตาม Shop Drawing และที่เสนอ Approve
ควรใช้กระเบื้องล็อตเดียวกันในแต่ละห้อง
4
การป้ายปูนต้องให้เต็มทั่วทั้งแผ่นไม่ให้เกิดโพรง ( ตรวจสอบโดยใช้เหรียญเคาะดูตามแผ่น )
Other
-
ตำแหน่งประตู หน้าต่าง จะต้องมีเสาเอ็น - ทับหลัง
-
หลังจากตีเส้นแนวผนังแล้ว ต้องตรวจสอบว่าแนวผนังห้องได้ฉากหรือไม่โดยการดึงทะแยง
-
วัสดุที่ใช้ในการเจาะเสียบเหล็ก ได้แก่ Sikadur กรัมกรีต ฯลฯ
-
รอยต่ออิฐ ควรมีความหนาแน่นใกล้เคียงกันคือ 1 - 1.5 ซม.
-
การก่ออิฐปิดใต้ท้องคานจะต้องทิ้งช่วงไว้สัก 1 - 2วัน แล้วจึงก่อปิด
-
กรณีที่ต้องฉาบมากกว่า 2 ซม. อาจจะเนื่องมาจากเสา หรือผนังล้มดิ่ง จะต้องฉาบทีละชั้น
ความหนา 1-1.5 ซม. ต่อชั้น โดยปูนเค็มจัด เพื่อให้ปูนฉาบแห้ง และก่อตัวได้เร็ว แล้วฉาบ
ชั้นต่อไปได้
-
ถ้าต้องการฉาบหนามากๆ ตั้งแต่ 5 ซม. จะต้องกรุตระแกรงกรงไก่ไว้เป็นชั้นๆด้วย
-
สเปย์น้ำที่ผนังปูนฉาบติดต่อกันอีก 2-3 วัน ( โดยเฉพาะผนังภายนอก )
Hanging wall with Gypsumboard
งานฝ้า T-bar
งานฝ้าฉาบเรียบ
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
การติดตั้งวงกบประตู หน้าต่าง
Method statement การติดวงกบประตูและหน้าต่าง
วงกบประตูหน้าต่าง ที่ใช้กับอาคารส่วนมากจะเป็นวงกบไม้ เหล็กและอลูมิเนียม
1
งานอลูมิเนียมประตูหน้าต่าง ส่วนมากจะจ้างผู้รับเหมาเป็นผู้ติดตั้ง ทางบริษัทฯ จะต้องจัดเตรียมช่อง
เปิดไว้ให้งานที่ต้องทำ คือ
1.1 เทเสาเอ็นและทับหลัง ตามขนาดช่องเปิดที่ต้องการ
1.2 จับเซี้ยมและฉาบปูนให้ได้ตามขนาดตามแบบ ช่องเปิดจะต้องได้ขนาด ทั้งแนวดิ่ง แนวราบ และเส้น-
ทแยงมุมควรจะทำงานฉาบปูนให้เรียบร้อย เพื่อป้องกันปูนเลอะขอบกระจก และอลูมิเนียม
1.3 เมื่อติดตั้งอลูมิเนียมเสร็จแล้ว ควรใช้เทปกาวปิดอลูมิเนียมไว้ เพื่อป้องกันการเปรอะเปื้อนเนื่องจากการ
ทาสี โดยเฉพาะประตูที่มีธรณีเป็นอลูมิเนียม จะเกิดการถลอก ก่อนการส่งงาน เทปกาวที่ใช้ต้องเป็น
เทปกาวที่ใช้กับงานอลูมิเนียมโดยเฉพาะ เมื่อลอกออกจะไม่มีกาวติดอยู่ที่ผิวอลูมิเนียม
1.4 ควรติดตั้งให้ผิวอลูมิเนียมล้นออกจากผนัง ประมาณ 2 - 3 มม. เพื่อป้องกันการล้มดิ่งของงานผนัง
2
งานประตูไม้และประตูเหล็ก จะใช้ผู้รับเหมาติดตั้งเหมือนงานอลูมิเนียม งานที่ต้องทำคือ
2.1 เตรียมช่องเปิด โดยทำเสาเอ็นทับหลัง โดยฝังเหล็กเส้นขนาด 9 มม .ไว้ เพื่องานเชื่อมติดตั้งวงกบ-
กบประตู
2.2 เมื่อติดตั้งวงกบประตูเสร็จแล้ว จึงทำการฉาบปูนภายหลัง โดยเซาะร่องขนาด 6 มม.ริมวงกบ
เพื่อซ่อนรอย Crack ที่ผิวเหล็กกับปูน
2.3 การติดตั้งประตูเหล็กอีกวิธีซึ่งที่นิยมทำกันคือให้เว้นเสาเอ็นและทับหลังไว้ข้างละ 5 ซม. โดยรอบ
เมื่อติดตั้งวงกบแล้วจึงแทรกปูน-ทรายให้เรียบร้อยก่อนฉาบ การติดตั้งธรณีประตูให้ติดตั้งภายหลัง
โดยการกรีดพื้น
3
งานวงกบไม้ โดยทั่วไป วงกบไม้จะใช้ขนาด 2" x 4" กรณีที่เป็นห้องน้ำจะใช้ขนาด 2" x 5" งานที่ต้องทำคือ
3.1 เตรียมช่องเปิด โดยทำเสาเอ็นทับหลังเหมือนประตูเหล็ก
3.2 ติดตั้งประตูกับช่องเปิด โดยใช้สกรูและพุกพลาสติก รูหัวสกรูจะโป๊วอุดแล้วทาสี
3.3 ทำการฉาบปูน และเซาะร่องเหมือนวงกบประตูเหล็ก
4
ปัญหาที่พบบ่อยๆ
4.1 ไม้ที่ใช้ทำวงกบ บิดงอเพราะไม้ไม่ได้อบจนแห้ง ควรใช้ไม้ที่แห้งสนิทแล้ว
4.2 การกองวงกบไม้ที่หน้างาน ทำให้วงกบบิดงอ ควรหลีกเลี่ยง
4.3 ก่อนติดตั้ง ควรทาน้ำยากันปลวก และน้ำยากันยางไม้ก่อน เพราะจะพบปัญหาเมื่อวงกบเปียกน้ำ
จากงานปูน ยางไม้จะไหลออกมาทำให้มีปัญหากับงานทาสี
4.4 ควรติดตั้งวงกบประตูให้เรียบร้อย แล้วค่อยฉาบปูน ปัญหาที่พบบ่อยคือ จะฉาบปูนผนังแล้วเว้น
บริเวณขอบประตูไว้เมื่อติดตั้งวงกบแล้วจึงมาฉาบปูน บริเวณขอบวงกบเป็นการเก็บงาน เมื่อทาสี
เสร็จจะเห็นรอยต่อปูนตรงส่วนนี้ซึ่งดูหน้าเกลียด
4.5 กรณีที่วงกบประตูอยู่ที่ผนังเบา ต้องเพิ่มเหล็กกล่อง เป็นโครงสร้างเสาเอ็นและทับหลัง เพื่อยึด
วงกบประตูมิฉะนั้นผนังยิบซัมจะเกิดรอยร้าว เนื่องจากการสั่นสะเทือนเวลาเปิด-ปิดประตู
การปู หรือ บุ ผนังกระเบื้อง
งานฝ้า T-bar
งานฝ้าฉาบเรียบ
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
Hanging wall with Gypsum board
Method statement Hanging Wall
1.วิธีการทำงาน
1.1 ทำการวาง Alignment ของแนวผนัง Hanging wall โดย Survey โดยวาง Grid lineไว้ที่พื้น
1.2 Off set line เป็นริมนอกของแนวผนังซึ่งเมื่อทำการติดตั้ง Frame ให้ทำการทิ้งดิ่งลงหาเส้น Off set line
ที่วางไว้บนพื้นโดยอาจจะลดความหนาของ Frame และแผ่นยิปซัมบอร์ด เพราะเมื่อทำการติดตั้งแผ่นยิปซัมแล้วผิว
Finished จะได้ตาม Alignment พอดี
1.3 ทำการยก Frame hanging ขึ้นติดตั้งโดยใช้ Crane หรือรอกช่วยในการติดตั้ง
1.4 ทำการ Check ระยะ ระดับ ทั้งแนวราบและแนวดิ่งให้ได้ตามแบบแล้วยึด Frame ไว้กับ Truss โดยอาจจะทำเป็น
Support ยื่นออกมาในกรณีที่ตำแหน่งของ Hanging wall ไม่ตรงกับแนวของ Truss อาจจะทำ Support ฝากไว้กับ
แปโดยใช้แปคู่ที่อยู่เหนือ Hangingwall ไม่ควรใช้แปตัวเดียวในการรับ Load จาก Hanging wall เพราะจะทำให้แปบิด
และตกท้องช้างมากเกินไป
1.5 ยิง Main frame aluminum ยึดกับโครงของ Hanging support โดยใช้ Screw 1" ซึ่งถ้า Frame ของ Hanging ได้ดิ่งจะ
ทำให้ง่ายต่อการติดตั้ง Frameโครงเคร่าผนังเบา ซึ่งแนวระนาบอาจจะใช้เอ็นดึงจัดแนวระนาบซึ่งจะวางโครงเคร่าตัว
Main ไปจนครบ Span แล้วถึงไล่ใส่โครงเคร่าตัวซอย Sub frameซึ่งระยะห่างของ Frame ตัว Main จะเท่ากับขนาด
ของแผ่น Gypsum และเพิ่มโครงเคร่าตรงกลางอีกตัวซึ่งระยะโครงเคร่าจะอยู่ประมาณ 0.60 ม.หรือ grid 0.60 * 1.20 ม.
1.6 ทำการติดแผ่น Gypsum board บนโครงเคร่าโดยเริ่มจากมุมล่างไปตลอดแนวแล้วเลื้อยขึ้นไปข้างบนเพื่อเก็บเศษ
ของแผ่นไว้บนสุด เว้นช่องว่างระหว่างแผ่นประมาณ 2 - 3 มม. แล้วยึดด้วย Screw โดยอัดหัว Screw เข้าไปในเนื้อ
Gypsum ประมาณ 2 - 3 มม.เพื่อเก็บหัว Screw แล้วโป๊วแต่งเรียบรอยต่อแผ่นและหัว Screw ด้วยปูนขาว Gypsum แล้ว
ฉาบแต่งผิวหน้าด้วยปูนฉาบ Gypsum board ใส่ Groove ตามมุมจบแผ่น กลาง Span และบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่น
Gypsum กับวัสดุอื่นเพื่อป้องกันรอย Crack ของปูนฉาบ
1.7 ทาสีรองพื้นทิ้งไว้แล้วค่อยลงสีจริงอีก 2 รอบ
ข้อควรระวัง
- รอยต่อระหว่างผนังคอนกรีตกับผนัง Gypsum ควรใส่ groove ไว้เพื่อป้องกันรอย Crack ของวัสดุต่างชนิดกัน
- รอยต่อระหว่างแผ่นไม่ควรชิดกันเกินไปควรเว้นช่องไว้ประมาณ 2-3 มม.
- รอยต่อและแผ่นควรฉาบเรียบขัดด้วยกระดาษทรายละเอียด
- ควรฝังหัว Screw ให้จมเข้าไปในแผ่น Gypsum ประมาณ 2-3 มม.
งานฝ้า T-bar
งานฝ้าฉาบเรียบ
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
การมุงหลังคา อาคารขนาดใหญ่ด้วย Metal Sheet V.0
Method Statement Metal Sheet with Superpolynum
1. ขั้นตอนการผลิต Metal Sheet ณ หน่วยงาน
1.1 การเตรียมพื้นที่ติดตั้งเครื่องรีดแผ่น และการนำ Coil ไปยังจุด Stock Coil
1
การเตรียมพื้นที่สำหรับตั้งเครื่องรีดแผ่น ต้องทำการปรับพื้นที่ในบริเวณสำหรับตั้งเครื่องรีดให้เรียบ
และมีการบดอัดพื้นให้แน่น
2
พื้นที่บริเวณวางเครื่องรีดและ Coil มีขนาดความกว้างไม่ต่ำกว่า 5.00 ม. ยาว 20.00 ม. หรือตามขนาดความยาว
ของแผ่นหลังคา
3
การนำ Coil ลงจากรถบรรทุก ใช้รถเครน 20 ตัน ( Coil 1 ม้วนหนักประมาณ 5 ตัน ) ประกอบเข้ากับชุดโซ่
( ตามมาตรฐาน Lysaght ) เพื่อทำการคล้องม้วน Coil โดยให้แนวโซ่อยู่ในแนว Center เดียวกันกับ Coil
4
ทำการยก Coil ลงจากรถบรรทุก มายังบริเวณ Stock Coil ซึ่งมีวัสดุรองด้านล่างให้สูงจากพื้นดิน
และมีการกั้นบริเวณพร้อมติดป้ายประกาศห้ามเข้าบริเวณกองวัสดุ
1.2 การนำเครื่องรีดแผ่นเข้าสู่จุดตั้งเครื่อง
1
นำรถหัวลากเครื่องรีดเข้าสู่พื้นที่ต้องการวางเครื่องจักร
2
ใช้รถเครนหนัก 20 ตัน เข้ายกประคองเครื่องจักร แล้วให้รถหัวลากออกจากตัวรถ
3
นำแท่น Sopport ที่เตรียมไว้ 8 ชุด ไปวางไว้ ณ จุด ที่มีขาปรับระดับทั้ง 8 จุด
แล้วทำการปลดขาลงจากล๊อคแล้วทำการปรับระดับขาให้มีระดับใกล้เคียงกันมากที่สุด
4
จากนั้นทำการลดระดับเครนลงจนขาปรับระดับของเครื่องรีดนั่งบนแท่น Support ทั้ง 8 จุด
5
ทำการตรวจสอบขาปรับระดับว่านั่งบนแท่น Support ทั้ง 8 จุดเรียบร้อย
6
นำกล้องระดับ เข้าทำการวัดระดับและปรับระดับ เครื่องจักร โดยใช้ Hydraulic Jack ขนาด 10 ตัน
เป็นตัว Adjust Level ของเครื่องรีดตามจุดที่ต้องการปรับจนเสร็จ
7
นำ Uncoil M/C เข้าติดตั้ง โดยให้อุปกรณ์ยกคือ รถเครนขนาด 20 ตัน และชุดโซ่มาตรฐาน Lysaght
8
นำ Coil ป้อนเข้าที่ Uncoil แล้วทำการรีดแผ่นหลังคา
9
บริเวณที่ทำการรีดแผ่นหลังคาจะทำการกั้นบริเวณ พร้อมติดป้ายห้ามเข้า เพื่อป้องกันอันตราย
1.3 การกองเก็บแผ่นหลังคา ณ จุดกองเก็บด้านล่าง
1
เตรียมสถานที่กองเก็บแผ่นหลังคา โดยการปรับระดับให้เรียบและทำชั้นยกระดับสูงจากพื้นดิน
ระยะห่างไม่เกิน 5.00 ม. ซี่งมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะรับน้ำหนักวัสดุ
2
การกองเก็บแผ่นหลังคาจะทำการกองๆ ละ 3 มัดๆละ 25 แผ่น พร้อมทั้งมีผ้าใบหรือแผ่นพลาสติกปิดคลุม
วัสดุอย่างมิดชิด ดังรูป
3
ทำการกั้นบริเวณ พร้อมติดป้ายห้ามเข้าบริเวณกองวัสดุ
4
แผ่นหลังคามีน้ำหนัก 3.8 กก./เมตร
2. ขั้นตอนการติดตั้ง Metal Sheet
2.1 อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย และอุปกรณ์ในการทำงานส่วนบุคคล
1
หมวกนิรภัย
2
ร้องเท้าผ้าใบหุ้มส้น
3
Safety Blet
4
สว่านไฟฟ้า สายไฟระบบฉนวน 2 ชั้น , Power Plug
2.2 การขนย้ายและติดตั้ง Wire Mesh & ฉนวนกันความร้อน ( super polynum )
Wire Mesh Laying
1
ก่อนการติดตั้ง Wire Mesh จะใช้แผ่นหลังคามาปูเป็นทางเดิน ตั้งแต่สันจั่วจนถึงรางน้ำ ยึดหัวและท้ายด้วย Screw
2
การขนย้าย Wire Mesh ขึ้นสู่บนโครงสร้างหลังคา จะทำการโดยใช้เครน และกระเช้าในการยกวัสดุขึ้นสู่ด้านบน
หรือใช้เชือกผูกกับรอก ดึงขึ้นไปโดยคน
3
Wire Mesh ใช้ขนาด #18 1"x 1"
4
การติดตั้ง Wire Mesh จะเริ่มทำการติดตั้งจากด้านบนสุดของหลังคา ลงสู่ด้านล่าง
ใช้สกรูยึดติดกับแปเหล็กทุกๆ ระยะ 5 แปๆ ละ3 ตัว ระยะทับซ้อนเท่ากับ 5 ซม.
5
ผู้ทำการติดตั้ง Wire Mesh ต้องทำการเลื่อนแผ่นที่ใช้เป็นทางเดิน ไปตลอดการทำงาน
และผู้ติดตั้งจะต้องใช้เข็มขัดนิรภัยตลอดการทำงาน
2.3 Thermal Insulation รุ่น Super Polynum
1
การขนย้าย Insulation จะกระทำโดยวิธีเดียวกันกับ Wire Mesh
2
Insulation ชนิด PURE HIGH RESISTANCE ALUMINUM FOIL ซึ่งประกอบด้วยชั้น 3 ชั้น
ชั้นบนเป็นแผ่น Pure Aluminum Foil ชั้นแกนกลางเป็น Polyethylene Bubbles Sheet
ชั้นล่างเป็นแผ่น Pure Aluminum Foil ประกอบกันเป็นแผ่นสำเร็จรูป ความหนารวม 4 มม.ตามที่ Ritta จัดให้
3
การติดตั้งจะเริ่มทำงานไปในทางเดียวกันกับ Wire Mesh ยึดแผ่นฉนวนด้วย Screw ดึงม้วนฉนวนให้สุดปลาย
หลังคา ดึงให้ตึงและยึดด้วย Screw ทุกๆ ระยะ 3-5 แปเหมือนด้านบนในขณะทำงานถ้ามีลมพัดแรง จะทำให้
การทำงานยากและช้าลง และอาจทำให้แผ่นฉนวนไม่ตึงเท่าที่ควร
4
รอยทับซ้อนของฉนวน เชื่อมรอยต่อของแผ่นด้วยส่วนที่เป็นแถบกาวกว้าง 2 ซม. และปิดทับด้วย
เทปกาวอะลูมิเนียมบริเวณรอยต่อของแผ่น
5
จากนั้นทำการติดตั้งแผ่นหลังคาทับลงไป ( ดูการติดตั้งในหัวข้อติดตั้งหลังคา )
หมายเหตุ
การติด Wire Mesh จะทำล่วงหน้าก่อนการติดตั้งหลังคาประมาณ 2 วัน ส่วนการติดฉนวนจะทำไป
พร้อมการติดตั้งหลังคา
3. การเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์
3.1 การเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์จากจุดกองเก็บด้านล่าง ขึ้นสู่บนโครงสร้างหลังคา
1
การยกแผ่นหลังคาจากพื้นขึ้นบนโครงสร้าง จะทำโดยใช้รถเครน ขนาด 25 ตัน 2 คัน ยกแผ่นขึ้นไป
โดยจะยกแผ่นขึ้นครั้งละประมาณ 12 แผ่น แต่ถ้าเป็นแผ่นสั้นก็ยกได้มากกว่านั้น ซึ่ง BHP. จะจัดเตรียมคาน
สำหรับยกแผ่นไว้ และทาง Ritta จัดเตรียมรถเครนให้
2
แผ่นที่ยกขึ้นจะทำการกองไว้ตรงตำแหน่ง Main Truss โดยจะกองไว้ไม่เกิน 1 กองซึ่งเท่ากับ 25 แผ่นต่อ 1 Truss
3
การยกแผ่นจะทำการยกช่วงเย็นของทุกวัน และจะทำ OT ช่วงกลางคืนขนแผ่นออกไปรอที่ตำแหน่งมุง
และจะทำการมุงหลังคาในตอนกลางวันของวันถัดไป
3.2 การเคลื่อนย้านแผ่นผลิตภัณฑ์บนโครงสร้างหลังคา
1
เมื่อทำการยกแผ่นหลังคาจากกองเก็บด้านล่างขึ้นมาบนโครงสร้างหลังคาแล้ว จะทำการติดตั้งแผ่นหลังคา
โดยทำการเว้นระยะจากริมอาคาร ซึ่งได้ทำการติดตั้งทางเดินชั่วคราวไว้เป็นระยะประมาณ 1-2 แผ่น (0.70-1.40 ม.)
และก่อนเวลาเลิกงานจะต้องทำการเก็บแผ่นหลังคาตามหัวข้อการกองเก็บผลิตภัณฑ์บนหลังคา
2
เมื่อเริ่มงานวันที่สอง และวันต่อๆมาจะทำการติดตั้งแผ่นหลังคาโดยใช้วัสดุที่กองเก็บไว้บนหลังคาแล้ว
3
หากมีการเคลื่อนย้านแผ่นในเวลากลางคืน จะต้องทำการติดตั้งแสงสว่างให้เพียงพอ
4
การกองเก็บ เมื่อถึงตำแหน่งตรงกับ Truss จะกองเก็บตามหัวข้อ การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์บนโครงสร้างหลังคา
3.3 การกองเก็บผลิตภัณฑ์บนโครงสร้างหลังคา
1
การกองเก็บผลิตภัณฑ์จะกองเก็บบนโครงสร้างหลังคาในบริเวณตรงกับ Truss จำนวน 1 มัดๆ ละไม่เกิน 25 แผ่น
2
ตำแหน่งการกองเก็บ จะทำการผูกยึดกองแผ่นวัสดุเข้ากับโครงสร้างหลังคาด้วยเชือก ห่างจุดละ 5-6 เมตร
4. การติดตั้งแผ่นหลังคารุ่น KL-700
1
ในวันแรกของการติดตั้งแผ่นหลังคา เมื่อทำการติดตั้ง Wire Mesh & Insulation พร้อมทั้งขา AKL-70 ในแนว
แผ่นหลังคาแผ่นแรกเรียบร้อยแล้ว จะทำการวางแผ่นหลังคาแผ่นแรกลงบนขา AKL-70 โดยให้สันลอนตัวเมีย
ของแผ่นหันออกนอกอาคาร ยื่นระยะชายคาออกจากแนวแปตามระยะที่แบบกำหนด
2
กดล๊อคสันลอนตัวเมียกับร่องกลางของขาด้านแฉกของขา AKL-70 และให้สันลอนทั้ง 2 ตรงกลางของแผ่น
กดล๊อคกับขากลาง และขาด้านเรียบของขา AKL-70 ตามลำดับใช้เท้าเหยียบที่สันลอนเพื่อกดล๊อคให้แผ่น
กับขา AKL-70 แนบสนิทกัน
3
ก่อนที่จะทำการเจาะยึดขา AKL-70 ตัวต่อไป ให้ทำการยกสันลอนตัวผู้ของแผ่นแลกขึ้น แล้วนำขาด้านแฉก
เกี่ยวล๊อคกับด้านล่างของลอนตัวผู้ของแผ่นแรกตลอดความยาวแผ่น จากนั้นจึงทำการยึดขา AKL-70 ด้วยสกรู
4
วางแผ่นหลังคาแผ่นที่ 2 ครอบทับขา AKL-70 ที่ยึดแน่นแล้วจากนั้นจะทำการเดินไปตามแนวยาวของแผ่นที่
กำลังติดตั้งและใช้เท้าเหยียบสันลอนเพื่อล๊อคแผ่นเหมือนกับขั้นตอนที่ 2 เพื่อให้แน่ใจว่าการซ้อนทับระหว่าง
ลอนตัวผู้และลอนตัวเมียของแผ่นต่อไป ล๊อคกันอย่างมั่นคง จะสังเกตุได้จากเสียง " คลิ๊ก " ที่เกิดขึ้นเมื่อใช้
เท้าเหยียบกดสันลอน
5
ทำการติดตั้งแผ่นต่อๆไป โดยทำตามขั้นตอน 1-4
6
การติดตั้งแผ่นหลังคาในวันที่ 2 และวันต่อๆมา จะใช้แผ่นหลังคาที่ทำการย้ายแผ่นจากจุดกองเก็บบนโครงสร้าง
หลังคาไปไว้บนแผ่นหลังคาที่ทำการติดตั้งไปแล้วเป็นแผ่นติดตั้ง โดยทำตามขั้นตอนที่ 1-5
7
ในการติดตั้งแผ่นหลังคาแผ่นสุดท้าย หากมีช่องว่างเหลืออยู่น้อยกว่าช่วงท้องลอนหลังคา จะทำการตัดเอา
เฉพาะด้านแฉกของขา AKL-70 ตามความยาวเหมาะสม เพื่อใช้เกี่ยวล๊อคกับลอนตัวผู้ที่ติดตั้งไปแล้ว
ซึ่งในส่วนช่องว่างจะใช้แผ่นปิดครอบปิดทับช่องว่างอีกครั้ง
8
ในส่วนของหัวแผ่นหลังคา ( ส่วนยอดของหลังคา ) จะทำการ Turn up หัวแผ่นเพื่อป้องกันน้ำย้อยกลับ
เป็นมุมประมาณ 80 องศา
9
ผู้ทำการติดตั้งแผ่นหลังคา ต้องใช้เข็มขัดนิรภัยตลอดเวลา
5. การติดตั้งแผ่นผนังรุ่น TD
1
วิธีการติดตั้งแผ่นผนัง TD จะเหมือนกับวิธีการติดตั้งแผ่นหลังคา เพียงแต่การยิงสกรูจะเปลี่ยนมาเป็นการยิง
ที่ท้องลอน โดยตำแหน่งหัวและท้ายแผ่นจะทำการยิงทุกท้องลอน
ส่วนตำแหน่งกลางแผ่นจะยิงท้องลอนเว้นท้องลอน
6. การติดตั้งแผ่นปิดครอบ FLASHING
1
การติดตั้งแผ่นปิดครอบ ในกรณีที่พื้นที่ในการติดตั้งมีความลาดเอียงตั้งแต่ 0-90 องศา จะทำการติดตั้งจาก
ด้านล่างขึ้นสู่ด้านบน
2
บริเวณรอยทับซ้อน จะทำการทับซ้อนกัน 0.10 ม. แนวทับซ้อนทำการยาแนวซิลิโคน
3
แผ่นปิดครอบขวางลอนหลังคาจะทำการยิงสกรูยึดแผ่นปิดครอบเข้ากับ Clip ที่ยึดกับแผ่นหลังคา ระยะห่าง
ในการยิงจะเว้นห่างลอนเว้นลอน ส่วนแผ่นปิดครอบที่ทำการติดตั้งตามความยาวของลอนหลังคา
ระยะห่างของการยิงสกรูจะห่างเท่ากับ ระยะห่างของแป / 2 ( ระยะห่างแปไม่เกิน 1.50 ม. )
1. ขั้นตอนการผลิต Metal Sheet ณ หน่วยงาน
1.1 การเตรียมพื้นที่ติดตั้งเครื่องรีดแผ่น และการนำ Coil ไปยังจุด Stock Coil
1
การเตรียมพื้นที่สำหรับตั้งเครื่องรีดแผ่น ต้องทำการปรับพื้นที่ในบริเวณสำหรับตั้งเครื่องรีดให้เรียบ
และมีการบดอัดพื้นให้แน่น
2
พื้นที่บริเวณวางเครื่องรีดและ Coil มีขนาดความกว้างไม่ต่ำกว่า 5.00 ม. ยาว 20.00 ม. หรือตามขนาดความยาว
ของแผ่นหลังคา
3
การนำ Coil ลงจากรถบรรทุก ใช้รถเครน 20 ตัน ( Coil 1 ม้วนหนักประมาณ 5 ตัน ) ประกอบเข้ากับชุดโซ่
( ตามมาตรฐาน Lysaght ) เพื่อทำการคล้องม้วน Coil โดยให้แนวโซ่อยู่ในแนว Center เดียวกันกับ Coil
4
ทำการยก Coil ลงจากรถบรรทุก มายังบริเวณ Stock Coil ซึ่งมีวัสดุรองด้านล่างให้สูงจากพื้นดิน
และมีการกั้นบริเวณพร้อมติดป้ายประกาศห้ามเข้าบริเวณกองวัสดุ
1.2 การนำเครื่องรีดแผ่นเข้าสู่จุดตั้งเครื่อง
1
นำรถหัวลากเครื่องรีดเข้าสู่พื้นที่ต้องการวางเครื่องจักร
2
ใช้รถเครนหนัก 20 ตัน เข้ายกประคองเครื่องจักร แล้วให้รถหัวลากออกจากตัวรถ
3
นำแท่น Sopport ที่เตรียมไว้ 8 ชุด ไปวางไว้ ณ จุด ที่มีขาปรับระดับทั้ง 8 จุด
แล้วทำการปลดขาลงจากล๊อคแล้วทำการปรับระดับขาให้มีระดับใกล้เคียงกันมากที่สุด
4
จากนั้นทำการลดระดับเครนลงจนขาปรับระดับของเครื่องรีดนั่งบนแท่น Support ทั้ง 8 จุด
5
ทำการตรวจสอบขาปรับระดับว่านั่งบนแท่น Support ทั้ง 8 จุดเรียบร้อย
6
นำกล้องระดับ เข้าทำการวัดระดับและปรับระดับ เครื่องจักร โดยใช้ Hydraulic Jack ขนาด 10 ตัน
เป็นตัว Adjust Level ของเครื่องรีดตามจุดที่ต้องการปรับจนเสร็จ
7
นำ Uncoil M/C เข้าติดตั้ง โดยให้อุปกรณ์ยกคือ รถเครนขนาด 20 ตัน และชุดโซ่มาตรฐาน Lysaght
8
นำ Coil ป้อนเข้าที่ Uncoil แล้วทำการรีดแผ่นหลังคา
9
บริเวณที่ทำการรีดแผ่นหลังคาจะทำการกั้นบริเวณ พร้อมติดป้ายห้ามเข้า เพื่อป้องกันอันตราย
1.3 การกองเก็บแผ่นหลังคา ณ จุดกองเก็บด้านล่าง
1
เตรียมสถานที่กองเก็บแผ่นหลังคา โดยการปรับระดับให้เรียบและทำชั้นยกระดับสูงจากพื้นดิน
ระยะห่างไม่เกิน 5.00 ม. ซี่งมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะรับน้ำหนักวัสดุ
2
การกองเก็บแผ่นหลังคาจะทำการกองๆ ละ 3 มัดๆละ 25 แผ่น พร้อมทั้งมีผ้าใบหรือแผ่นพลาสติกปิดคลุม
วัสดุอย่างมิดชิด ดังรูป
3
ทำการกั้นบริเวณ พร้อมติดป้ายห้ามเข้าบริเวณกองวัสดุ
4
แผ่นหลังคามีน้ำหนัก 3.8 กก./เมตร
2. ขั้นตอนการติดตั้ง Metal Sheet
2.1 อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย และอุปกรณ์ในการทำงานส่วนบุคคล
1
หมวกนิรภัย
2
ร้องเท้าผ้าใบหุ้มส้น
3
Safety Blet
4
สว่านไฟฟ้า สายไฟระบบฉนวน 2 ชั้น , Power Plug
2.2 การขนย้ายและติดตั้ง Wire Mesh & ฉนวนกันความร้อน ( super polynum )
Wire Mesh Laying
1
ก่อนการติดตั้ง Wire Mesh จะใช้แผ่นหลังคามาปูเป็นทางเดิน ตั้งแต่สันจั่วจนถึงรางน้ำ ยึดหัวและท้ายด้วย Screw
2
การขนย้าย Wire Mesh ขึ้นสู่บนโครงสร้างหลังคา จะทำการโดยใช้เครน และกระเช้าในการยกวัสดุขึ้นสู่ด้านบน
หรือใช้เชือกผูกกับรอก ดึงขึ้นไปโดยคน
3
Wire Mesh ใช้ขนาด #18 1"x 1"
4
การติดตั้ง Wire Mesh จะเริ่มทำการติดตั้งจากด้านบนสุดของหลังคา ลงสู่ด้านล่าง
ใช้สกรูยึดติดกับแปเหล็กทุกๆ ระยะ 5 แปๆ ละ3 ตัว ระยะทับซ้อนเท่ากับ 5 ซม.
5
ผู้ทำการติดตั้ง Wire Mesh ต้องทำการเลื่อนแผ่นที่ใช้เป็นทางเดิน ไปตลอดการทำงาน
และผู้ติดตั้งจะต้องใช้เข็มขัดนิรภัยตลอดการทำงาน
2.3 Thermal Insulation รุ่น Super Polynum
1
การขนย้าย Insulation จะกระทำโดยวิธีเดียวกันกับ Wire Mesh
2
Insulation ชนิด PURE HIGH RESISTANCE ALUMINUM FOIL ซึ่งประกอบด้วยชั้น 3 ชั้น
ชั้นบนเป็นแผ่น Pure Aluminum Foil ชั้นแกนกลางเป็น Polyethylene Bubbles Sheet
ชั้นล่างเป็นแผ่น Pure Aluminum Foil ประกอบกันเป็นแผ่นสำเร็จรูป ความหนารวม 4 มม.ตามที่ Ritta จัดให้
3
การติดตั้งจะเริ่มทำงานไปในทางเดียวกันกับ Wire Mesh ยึดแผ่นฉนวนด้วย Screw ดึงม้วนฉนวนให้สุดปลาย
หลังคา ดึงให้ตึงและยึดด้วย Screw ทุกๆ ระยะ 3-5 แปเหมือนด้านบนในขณะทำงานถ้ามีลมพัดแรง จะทำให้
การทำงานยากและช้าลง และอาจทำให้แผ่นฉนวนไม่ตึงเท่าที่ควร
4
รอยทับซ้อนของฉนวน เชื่อมรอยต่อของแผ่นด้วยส่วนที่เป็นแถบกาวกว้าง 2 ซม. และปิดทับด้วย
เทปกาวอะลูมิเนียมบริเวณรอยต่อของแผ่น
5
จากนั้นทำการติดตั้งแผ่นหลังคาทับลงไป ( ดูการติดตั้งในหัวข้อติดตั้งหลังคา )
หมายเหตุ
การติด Wire Mesh จะทำล่วงหน้าก่อนการติดตั้งหลังคาประมาณ 2 วัน ส่วนการติดฉนวนจะทำไป
พร้อมการติดตั้งหลังคา
3. การเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์
3.1 การเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์จากจุดกองเก็บด้านล่าง ขึ้นสู่บนโครงสร้างหลังคา
1
การยกแผ่นหลังคาจากพื้นขึ้นบนโครงสร้าง จะทำโดยใช้รถเครน ขนาด 25 ตัน 2 คัน ยกแผ่นขึ้นไป
โดยจะยกแผ่นขึ้นครั้งละประมาณ 12 แผ่น แต่ถ้าเป็นแผ่นสั้นก็ยกได้มากกว่านั้น ซึ่ง BHP. จะจัดเตรียมคาน
สำหรับยกแผ่นไว้ และทาง Ritta จัดเตรียมรถเครนให้
2
แผ่นที่ยกขึ้นจะทำการกองไว้ตรงตำแหน่ง Main Truss โดยจะกองไว้ไม่เกิน 1 กองซึ่งเท่ากับ 25 แผ่นต่อ 1 Truss
3
การยกแผ่นจะทำการยกช่วงเย็นของทุกวัน และจะทำ OT ช่วงกลางคืนขนแผ่นออกไปรอที่ตำแหน่งมุง
และจะทำการมุงหลังคาในตอนกลางวันของวันถัดไป
3.2 การเคลื่อนย้านแผ่นผลิตภัณฑ์บนโครงสร้างหลังคา
1
เมื่อทำการยกแผ่นหลังคาจากกองเก็บด้านล่างขึ้นมาบนโครงสร้างหลังคาแล้ว จะทำการติดตั้งแผ่นหลังคา
โดยทำการเว้นระยะจากริมอาคาร ซึ่งได้ทำการติดตั้งทางเดินชั่วคราวไว้เป็นระยะประมาณ 1-2 แผ่น (0.70-1.40 ม.)
และก่อนเวลาเลิกงานจะต้องทำการเก็บแผ่นหลังคาตามหัวข้อการกองเก็บผลิตภัณฑ์บนหลังคา
2
เมื่อเริ่มงานวันที่สอง และวันต่อๆมาจะทำการติดตั้งแผ่นหลังคาโดยใช้วัสดุที่กองเก็บไว้บนหลังคาแล้ว
3
หากมีการเคลื่อนย้านแผ่นในเวลากลางคืน จะต้องทำการติดตั้งแสงสว่างให้เพียงพอ
4
การกองเก็บ เมื่อถึงตำแหน่งตรงกับ Truss จะกองเก็บตามหัวข้อ การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์บนโครงสร้างหลังคา
3.3 การกองเก็บผลิตภัณฑ์บนโครงสร้างหลังคา
1
การกองเก็บผลิตภัณฑ์จะกองเก็บบนโครงสร้างหลังคาในบริเวณตรงกับ Truss จำนวน 1 มัดๆ ละไม่เกิน 25 แผ่น
2
ตำแหน่งการกองเก็บ จะทำการผูกยึดกองแผ่นวัสดุเข้ากับโครงสร้างหลังคาด้วยเชือก ห่างจุดละ 5-6 เมตร
4. การติดตั้งแผ่นหลังคารุ่น KL-700
1
ในวันแรกของการติดตั้งแผ่นหลังคา เมื่อทำการติดตั้ง Wire Mesh & Insulation พร้อมทั้งขา AKL-70 ในแนว
แผ่นหลังคาแผ่นแรกเรียบร้อยแล้ว จะทำการวางแผ่นหลังคาแผ่นแรกลงบนขา AKL-70 โดยให้สันลอนตัวเมีย
ของแผ่นหันออกนอกอาคาร ยื่นระยะชายคาออกจากแนวแปตามระยะที่แบบกำหนด
2
กดล๊อคสันลอนตัวเมียกับร่องกลางของขาด้านแฉกของขา AKL-70 และให้สันลอนทั้ง 2 ตรงกลางของแผ่น
กดล๊อคกับขากลาง และขาด้านเรียบของขา AKL-70 ตามลำดับใช้เท้าเหยียบที่สันลอนเพื่อกดล๊อคให้แผ่น
กับขา AKL-70 แนบสนิทกัน
3
ก่อนที่จะทำการเจาะยึดขา AKL-70 ตัวต่อไป ให้ทำการยกสันลอนตัวผู้ของแผ่นแลกขึ้น แล้วนำขาด้านแฉก
เกี่ยวล๊อคกับด้านล่างของลอนตัวผู้ของแผ่นแรกตลอดความยาวแผ่น จากนั้นจึงทำการยึดขา AKL-70 ด้วยสกรู
4
วางแผ่นหลังคาแผ่นที่ 2 ครอบทับขา AKL-70 ที่ยึดแน่นแล้วจากนั้นจะทำการเดินไปตามแนวยาวของแผ่นที่
กำลังติดตั้งและใช้เท้าเหยียบสันลอนเพื่อล๊อคแผ่นเหมือนกับขั้นตอนที่ 2 เพื่อให้แน่ใจว่าการซ้อนทับระหว่าง
ลอนตัวผู้และลอนตัวเมียของแผ่นต่อไป ล๊อคกันอย่างมั่นคง จะสังเกตุได้จากเสียง " คลิ๊ก " ที่เกิดขึ้นเมื่อใช้
เท้าเหยียบกดสันลอน
5
ทำการติดตั้งแผ่นต่อๆไป โดยทำตามขั้นตอน 1-4
6
การติดตั้งแผ่นหลังคาในวันที่ 2 และวันต่อๆมา จะใช้แผ่นหลังคาที่ทำการย้ายแผ่นจากจุดกองเก็บบนโครงสร้าง
หลังคาไปไว้บนแผ่นหลังคาที่ทำการติดตั้งไปแล้วเป็นแผ่นติดตั้ง โดยทำตามขั้นตอนที่ 1-5
7
ในการติดตั้งแผ่นหลังคาแผ่นสุดท้าย หากมีช่องว่างเหลืออยู่น้อยกว่าช่วงท้องลอนหลังคา จะทำการตัดเอา
เฉพาะด้านแฉกของขา AKL-70 ตามความยาวเหมาะสม เพื่อใช้เกี่ยวล๊อคกับลอนตัวผู้ที่ติดตั้งไปแล้ว
ซึ่งในส่วนช่องว่างจะใช้แผ่นปิดครอบปิดทับช่องว่างอีกครั้ง
8
ในส่วนของหัวแผ่นหลังคา ( ส่วนยอดของหลังคา ) จะทำการ Turn up หัวแผ่นเพื่อป้องกันน้ำย้อยกลับ
เป็นมุมประมาณ 80 องศา
9
ผู้ทำการติดตั้งแผ่นหลังคา ต้องใช้เข็มขัดนิรภัยตลอดเวลา
5. การติดตั้งแผ่นผนังรุ่น TD
1
วิธีการติดตั้งแผ่นผนัง TD จะเหมือนกับวิธีการติดตั้งแผ่นหลังคา เพียงแต่การยิงสกรูจะเปลี่ยนมาเป็นการยิง
ที่ท้องลอน โดยตำแหน่งหัวและท้ายแผ่นจะทำการยิงทุกท้องลอน
ส่วนตำแหน่งกลางแผ่นจะยิงท้องลอนเว้นท้องลอน
6. การติดตั้งแผ่นปิดครอบ FLASHING
1
การติดตั้งแผ่นปิดครอบ ในกรณีที่พื้นที่ในการติดตั้งมีความลาดเอียงตั้งแต่ 0-90 องศา จะทำการติดตั้งจาก
ด้านล่างขึ้นสู่ด้านบน
2
บริเวณรอยทับซ้อน จะทำการทับซ้อนกัน 0.10 ม. แนวทับซ้อนทำการยาแนวซิลิโคน
3
แผ่นปิดครอบขวางลอนหลังคาจะทำการยิงสกรูยึดแผ่นปิดครอบเข้ากับ Clip ที่ยึดกับแผ่นหลังคา ระยะห่าง
ในการยิงจะเว้นห่างลอนเว้นลอน ส่วนแผ่นปิดครอบที่ทำการติดตั้งตามความยาวของลอนหลังคา
ระยะห่างของการยิงสกรูจะห่างเท่ากับ ระยะห่างของแป / 2 ( ระยะห่างแปไม่เกิน 1.50 ม. )
การมุงหลังคา อาคารขนาดใหญ่ด้วย Metal Sheet V.1
Method Statement Installation Metal Sheet Roofing
1. การเตรียมการ
1.1
เตรียมหาพื้นที่สำหรับจอดเครนและเช็คน้ำหนักแผ่น Metal Sheet ต่อแผ่น เพื่อหาสลิงผ้าสำหรับยก
1.2
Stock Roofing Sheet บนโครงหลังคาเหล็ก เริ่มกองจาก Line 7Ba - 7 (G-H) โดยยกกองละ 5 แผ่น
และ วางระยะห่างกองละ 2.5 - 3 m.
1.3
แผ่น Metal Sheet ที่น้ำขึ้นบนหลังคา ควรมีการยึดติดกับ Frame Steel
2. การทำงาน
2.1
ตรวจสอบการยกแผ่น Metal Sheet ต้องมี Frame Steel ยึดติดหุ้มแผ่นหลังคา
2.2
ตรวจสอบการวาง Wire mesh รองพื้นว่าปูตรงแนว และระยะทาบ ถูกต้องตาม Spec หรือไม่
ระยะทางระหว่าง Wire mesh 2 ช่องของ Mire mesh
2.3
ตรวจสอบการวางแผ่น Foil รองพื้น และตามด้วย Insulation foil 50 mm. อีก ควรให้แผ่น foil เรียบ
ระยะทาบแผ่น Foil ~ 10 cm. ส่วน Insulation ให้วางชนกับแนวเดิม
2.4
ตรวจสอบการยึดติด Screw และ Nut ควรให้มียางกันน้ำ และ ยึดให้แน่น
2.5
ตรวจสอบ Flashing ขึ้นหลังคา และ Flashing จุดต่าง ๆ ควรมีการยึดติดแน่นหนา และมียางกันน้ำ
รองรับ Nut
2.6
ตรวจสอบการรับน้ำของหลังคา Metal Sheet ต้องไม่มีการรั่ว
2.7
กำหนดให้เดินข้ามแผ่น Skylight บนหลังคา ( ในกรณีที่มี )
3.ขั้นตอนการติดตั้ง
1. ปูตะแกรง Wire mesh ขนาด 1" * 1" ตลอดพื้นที่ ที่จะมุงหลังคายึดด้วย Screw โดยยึดตะแกรงติดไว้กับแปและดึง
ตะแกรงให้ตึงมากที่สุด
2. ติด Bolt Support Connecter เพื่อเป็นตัวยึดแผ่น Aluminium Foil และขาตั้ง ( Roof Connecter )
3. ปูแผ่น Aluminium foil โดยดึงแผ่นให้ตึงมากที่สุดและยึดแผ่นไว้กับ Bolt Support Connecter ระวังอย่าทำให้แผ่นย่น
ขณะปูแผ่นให้วางแนบกับตะแกรงแล้วใช้ไม้แผ่นเรียบยาวประมาณ 30-50 ซม.รีดเบาๆบนแผ่น Foil ตลอดช่วงที่จะยึดแผ่น แล้วจึง
ยึดไว้กับ Support ( ดังรูป )
4.ปูแผ่น Micro Fiber ทับบนแผ่น foil พยายามวางแผ่นให้เรียบ
5.วาง Roof Connecter ตามตำแหน่งของ Bolt Support Connecter
6.ทำการปูแผ่น Metal Roofing Sheet
ข้อควรระวัง
1.การขึ้นแผ่นและ Stock แผ่นให้ระวังเรื่องการยกและวางแผ่นซึ่งอาจทำให้แผ่นเสียหายได้
2.การเดินบนแผ่นให้เดินเหยียบบนลอนล่างไม่ควรเหยียบลอนบนเพราะจะทำให้แผ่นยุบและเสียหาย
3.ในส่วนรอยต่อแผ่นที่ทำไม่ต่อเนื่องหรือเว้นช่วงไว้ให้หาวัสดุมาคลุมไว้ก่อนเสมอเพื่อป้องกันน้ำฝนที่จะไหลหรือ
ซึมเข้าไปทำความเสียหายต่อ Insulation และแผ่น Foil
4.ไม่ควรวาง Stock แผ่นไว้เฉยๆควรหาวัสดุผูกหรือรัดไว้หลังจากหยุดทำงาน
1. การเตรียมการ
1.1
เตรียมหาพื้นที่สำหรับจอดเครนและเช็คน้ำหนักแผ่น Metal Sheet ต่อแผ่น เพื่อหาสลิงผ้าสำหรับยก
1.2
Stock Roofing Sheet บนโครงหลังคาเหล็ก เริ่มกองจาก Line 7Ba - 7 (G-H) โดยยกกองละ 5 แผ่น
และ วางระยะห่างกองละ 2.5 - 3 m.
1.3
แผ่น Metal Sheet ที่น้ำขึ้นบนหลังคา ควรมีการยึดติดกับ Frame Steel
2. การทำงาน
2.1
ตรวจสอบการยกแผ่น Metal Sheet ต้องมี Frame Steel ยึดติดหุ้มแผ่นหลังคา
2.2
ตรวจสอบการวาง Wire mesh รองพื้นว่าปูตรงแนว และระยะทาบ ถูกต้องตาม Spec หรือไม่
ระยะทางระหว่าง Wire mesh 2 ช่องของ Mire mesh
2.3
ตรวจสอบการวางแผ่น Foil รองพื้น และตามด้วย Insulation foil 50 mm. อีก ควรให้แผ่น foil เรียบ
ระยะทาบแผ่น Foil ~ 10 cm. ส่วน Insulation ให้วางชนกับแนวเดิม
2.4
ตรวจสอบการยึดติด Screw และ Nut ควรให้มียางกันน้ำ และ ยึดให้แน่น
2.5
ตรวจสอบ Flashing ขึ้นหลังคา และ Flashing จุดต่าง ๆ ควรมีการยึดติดแน่นหนา และมียางกันน้ำ
รองรับ Nut
2.6
ตรวจสอบการรับน้ำของหลังคา Metal Sheet ต้องไม่มีการรั่ว
2.7
กำหนดให้เดินข้ามแผ่น Skylight บนหลังคา ( ในกรณีที่มี )
3.ขั้นตอนการติดตั้ง
1. ปูตะแกรง Wire mesh ขนาด 1" * 1" ตลอดพื้นที่ ที่จะมุงหลังคายึดด้วย Screw โดยยึดตะแกรงติดไว้กับแปและดึง
ตะแกรงให้ตึงมากที่สุด
2. ติด Bolt Support Connecter เพื่อเป็นตัวยึดแผ่น Aluminium Foil และขาตั้ง ( Roof Connecter )
3. ปูแผ่น Aluminium foil โดยดึงแผ่นให้ตึงมากที่สุดและยึดแผ่นไว้กับ Bolt Support Connecter ระวังอย่าทำให้แผ่นย่น
ขณะปูแผ่นให้วางแนบกับตะแกรงแล้วใช้ไม้แผ่นเรียบยาวประมาณ 30-50 ซม.รีดเบาๆบนแผ่น Foil ตลอดช่วงที่จะยึดแผ่น แล้วจึง
ยึดไว้กับ Support ( ดังรูป )
4.ปูแผ่น Micro Fiber ทับบนแผ่น foil พยายามวางแผ่นให้เรียบ
5.วาง Roof Connecter ตามตำแหน่งของ Bolt Support Connecter
6.ทำการปูแผ่น Metal Roofing Sheet
ข้อควรระวัง
1.การขึ้นแผ่นและ Stock แผ่นให้ระวังเรื่องการยกและวางแผ่นซึ่งอาจทำให้แผ่นเสียหายได้
2.การเดินบนแผ่นให้เดินเหยียบบนลอนล่างไม่ควรเหยียบลอนบนเพราะจะทำให้แผ่นยุบและเสียหาย
3.ในส่วนรอยต่อแผ่นที่ทำไม่ต่อเนื่องหรือเว้นช่วงไว้ให้หาวัสดุมาคลุมไว้ก่อนเสมอเพื่อป้องกันน้ำฝนที่จะไหลหรือ
ซึมเข้าไปทำความเสียหายต่อ Insulation และแผ่น Foil
4.ไม่ควรวาง Stock แผ่นไว้เฉยๆควรหาวัสดุผูกหรือรัดไว้หลังจากหยุดทำงาน
การมุงหลังคา อาคารขนาดใหญ่ด้วย Metal Sheet
Method Statement For Metal Sheet Roofing v2
1. การเตรียมการ
1.1
เตรียมหาพื้นที่สำหรับกองวัสดุและจัดเตรียมรถเครนสำหรับการยกแผ่น
1.2
จัดกองแผ่น Metal Sheet บนโครงหลังคา เริ่มกองจาก line G-A ,G M โดยแยกกองละ 17 แผ่น
โดยวางระยะหว่างกองละ 12 M. หรือให้ตรงกับ Main Truss
1.3
แผ่น Metal Seet ที่ทำขึ้นบนหลังคา ควรมีการยึดติดกับโครง Truss เพื่อกัน แผ่น Slide
2. ขั้นตอนการติดตั้ง
2.1
Mark line ตำแหน่งที่ติดตั้งแผ่น Metal Sheet บนแป ระยะ 75 ซม.ตามขนาดของแผ่น
2.2
ปูตะแกรง Wire mash เบอร์ 18 mm. 2.5 x 2.5 cm ตลอดพื้นที่ ที่จะมุงหลังคายึดด้วย
Serew โดยยึดตะแกรงติดไว้กับแปและดึงตะแกรงให้ตึงมากที่สุด
2.3
Insulation ใช้ 2 ชั้น โดยชั้นแรกไม่มี Foil และชั้นบนใช้ชนิด Foil ติดมากับตัวฉนวน 1 ต้น อยู่ด้านบน
2.4
การติดตั้งจะเริ่มทำงานไปแขวงเดียวกับ Wire Mesh โดยการยึด Foil ให้หนาพอประมาณ ยึดด้วย
serew 4 ตัว ดึงม้วน Foil ให้สุดปลายหลังคา ดึงให้ตึงและยึดด้วย Screw เหมือนด้านบน
2.5
รอยทับซ้อนของ Foiln จะทำการทับซ้อนระยะเท่ากับ 50 มม.
2.6
ทำการปู Insulation ชนิดไม่มี Foil ไว้ด้านล่างและปูทับด้วย Isnulation ที่มี Foil 1 ด้านให้ Foil อยู่ด้านบน
2.7
ก่อนทำการวางแผ่นหลังคา ให้เริ่มติดตั้งขายึดในแถวแรกทุกๆแปโดยให้ขาด้านที่ยึดแผ่นอยู่นอกเสนอ
กับแนวแป ติดตั้งขายึดตัวต้นแถวและท้ายแถวถัดไปได้ทันที
2.8
การวางแผ่นหลังคาแผ่นแรกบนขายึดแถวแรก โดยให้ลอนตัวเมียของ แผ่นอยู่ด้านนอก ให้ปลายแผ่น
หลังคายื่นล้ำเข้าไปในแนวรางน้ำ ในระยะที่กำหนดกดล๊อกลอนตัวเมีย และลอนกลางแผ่นกับขายึดตาม
ลำดับ โดยใช้เท้ากดบนสั้นลอน หรือใช้ค้อนยางเพื่อล๊อกแผ่นหลังคากันขายึดแนบสนิทกัน
2.9
วางแผ่นหลังคาแผ่นที่ 2 ครอบทับขายึด โดยจัดแนวปลายแผ่นให้เสมอกับแผ่นแรก และใช้เท้ากด
หรือค้อนยางเคาะ โดยให้ลอนตัวเมียทับลอนตัวผู้เพื่อให้แน่ใจว่าแผ่นกับขายึดล๊อคกันแล้ว
3.4
ตรวจสอบการยึดติด Screw และ Nut ควรให้มียางกันน้ำและยึดให้แน่น
3.5
ตรวจสอบ Flashing ขึ้นหลังคา และ Flashing จุดต่างๆควรมีการยึดติดแน่นหนา และมียางกัน
น้ำรองระดับ Nut
3.6
ตรวจสอบการรับน้ำของหลังคา Metal Sheet ต้องไม่มีการรั่ว
4. ข้อควรระวัง
4.1
การขึ้น แผ่นและ Stock แผ่นให้ระวังเรื่องการยกและวางแผ่นซึ่งอาจทำให้แผ่นเสียหายได้
4.2
การเดินบนแผ่นให้เดินเหยียบบนลอนล่างไม่ควรเหยียบลอนบนเพราะจะทำให้แผ่นยุบและเสียหาย
4.3
ในส่วนรอยต่อแผ่นที่ทำไม่ต่อเนื่องหรือเว้นช่องไว้ให้หาวัสดุมาคลุมไว้ก่อนเสมอเพื่อป้องกันฝน
ที่จะไหล หรือซึมเข้าไปทำความเสียหายต่อ Insulation และแผ่น Foil
1. การเตรียมการ
1.1
เตรียมหาพื้นที่สำหรับกองวัสดุและจัดเตรียมรถเครนสำหรับการยกแผ่น
1.2
จัดกองแผ่น Metal Sheet บนโครงหลังคา เริ่มกองจาก line G-A ,G M โดยแยกกองละ 17 แผ่น
โดยวางระยะหว่างกองละ 12 M. หรือให้ตรงกับ Main Truss
1.3
แผ่น Metal Seet ที่ทำขึ้นบนหลังคา ควรมีการยึดติดกับโครง Truss เพื่อกัน แผ่น Slide
2. ขั้นตอนการติดตั้ง
2.1
Mark line ตำแหน่งที่ติดตั้งแผ่น Metal Sheet บนแป ระยะ 75 ซม.ตามขนาดของแผ่น
2.2
ปูตะแกรง Wire mash เบอร์ 18 mm. 2.5 x 2.5 cm ตลอดพื้นที่ ที่จะมุงหลังคายึดด้วย
Serew โดยยึดตะแกรงติดไว้กับแปและดึงตะแกรงให้ตึงมากที่สุด
2.3
Insulation ใช้ 2 ชั้น โดยชั้นแรกไม่มี Foil และชั้นบนใช้ชนิด Foil ติดมากับตัวฉนวน 1 ต้น อยู่ด้านบน
2.4
การติดตั้งจะเริ่มทำงานไปแขวงเดียวกับ Wire Mesh โดยการยึด Foil ให้หนาพอประมาณ ยึดด้วย
serew 4 ตัว ดึงม้วน Foil ให้สุดปลายหลังคา ดึงให้ตึงและยึดด้วย Screw เหมือนด้านบน
2.5
รอยทับซ้อนของ Foiln จะทำการทับซ้อนระยะเท่ากับ 50 มม.
2.6
ทำการปู Insulation ชนิดไม่มี Foil ไว้ด้านล่างและปูทับด้วย Isnulation ที่มี Foil 1 ด้านให้ Foil อยู่ด้านบน
2.7
ก่อนทำการวางแผ่นหลังคา ให้เริ่มติดตั้งขายึดในแถวแรกทุกๆแปโดยให้ขาด้านที่ยึดแผ่นอยู่นอกเสนอ
กับแนวแป ติดตั้งขายึดตัวต้นแถวและท้ายแถวถัดไปได้ทันที
2.8
การวางแผ่นหลังคาแผ่นแรกบนขายึดแถวแรก โดยให้ลอนตัวเมียของ แผ่นอยู่ด้านนอก ให้ปลายแผ่น
หลังคายื่นล้ำเข้าไปในแนวรางน้ำ ในระยะที่กำหนดกดล๊อกลอนตัวเมีย และลอนกลางแผ่นกับขายึดตาม
ลำดับ โดยใช้เท้ากดบนสั้นลอน หรือใช้ค้อนยางเพื่อล๊อกแผ่นหลังคากันขายึดแนบสนิทกัน
2.9
วางแผ่นหลังคาแผ่นที่ 2 ครอบทับขายึด โดยจัดแนวปลายแผ่นให้เสมอกับแผ่นแรก และใช้เท้ากด
หรือค้อนยางเคาะ โดยให้ลอนตัวเมียทับลอนตัวผู้เพื่อให้แน่ใจว่าแผ่นกับขายึดล๊อคกันแล้ว
3.4
ตรวจสอบการยึดติด Screw และ Nut ควรให้มียางกันน้ำและยึดให้แน่น
3.5
ตรวจสอบ Flashing ขึ้นหลังคา และ Flashing จุดต่างๆควรมีการยึดติดแน่นหนา และมียางกัน
น้ำรองระดับ Nut
3.6
ตรวจสอบการรับน้ำของหลังคา Metal Sheet ต้องไม่มีการรั่ว
4. ข้อควรระวัง
4.1
การขึ้น แผ่นและ Stock แผ่นให้ระวังเรื่องการยกและวางแผ่นซึ่งอาจทำให้แผ่นเสียหายได้
4.2
การเดินบนแผ่นให้เดินเหยียบบนลอนล่างไม่ควรเหยียบลอนบนเพราะจะทำให้แผ่นยุบและเสียหาย
4.3
ในส่วนรอยต่อแผ่นที่ทำไม่ต่อเนื่องหรือเว้นช่องไว้ให้หาวัสดุมาคลุมไว้ก่อนเสมอเพื่อป้องกันฝน
ที่จะไหล หรือซึมเข้าไปทำความเสียหายต่อ Insulation และแผ่น Foil
การขัดผิวมันกับผง Floorhardener
Method statement steel trowel with FLOOR HARDENER
1. เมื่อปูนเริ่มเซ็ทตัว (ทดสอบโดยการเหยียบด้วยเท้า)
2. ให้เปิดหน้าปูน ตามแนวขวางก่อน
3. เสร็จแล้วโรยผงรอบแรก + ปล่อยให้ผงอิ่มตัว ( Hardener ของ Sika ) โดยการโรยผง Hardener ควรโรยให้ความหนา
สม่ำเสมอ
4. เสร็จแล้วขัดหน้าตามแนวขวาง
5. ปรับระดับด้วยกล่องอลูมิเนียม ให้ได้ตามต้องการ
6. เสร็จแล้วโรยรอบสอง (ตามขั้นตอนแรก)
7. โรยรอบสองเสร็จ ดูหน้างานแล้วขัดถาด สลับตามขวาง ตามยาว
8. ขัดถาดไปเรื่อย ๆ จนดูว่าพอแล้ว ค่อยลงใบ
9. ลงใบให้ขัดตามขวาง และยาว
10. ดูว่าลงใบแล้วปูนแห้งพอที่จะเก็บเกรียง (ด้วยมือ) หรือยัง
11. การเก็บเกรียง ก็จะเก็บถอยหลังมาเรื่อย ๆ ประมาณ 3 รอบ
12. หลังจากขัดเสร็จ 24 ชม. ให้บ่มด้วยวิธีตามสเปค
3. การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต และระหว่างการเทคอนกรีต
- ตรวจสอบระดับของ Lean Concrete และความเรียบร้อยของพลาสติก Sheet
- ตรวจสอบแนววางท่อ และระดับของลวดอัดแรงให้ได้ตามแบบ
- ตรวจสอบงานระบบที่อยู่ใต้พื้นให้ตรงตามแบบ
- ตรวจสอบเหล็กเสริมตามช่องเปิด และ Joint รวมทั้งบริเวณสมอยึด (Anchorage)
- ตรวจสอบเหล็กฉาก ว่าได้ระดับเท และได้แนว และมีความแข็งแรง
- ตรวจสอบว่ามีการจี้ปูนสม่ำเสมอหรือไม่ และ Slump ในการเทต้องได้ตามกำหนด
- ตรวจสอบการปาดหน้าปูน ปรับระดับด้วยกล่องอลูมิเนียมให้ได้ระดับ และเช็คด้วยกล้องระดับ
- ถ้าเหล็กเสริมติดแนว Tendon ให้ขยับเหล็กเสริมออกจากแนว Tendon ห้ามหักงอ Tendon เพื่อหลบเหล็กเสริมซึ่งจะทำให้เกิด
Friction loss สูง
- แนวการเทคอนกรีตต้องเป็นแนวเดียวกันตลอดห้ามเทตัดขวางกันเป็นสามแยก
4. การควบคุมผิว
- การควบคุม Slump ของ Concrete ต้องให้ได้ตามที่ Design และมีความสม่ำเสมอ
- การควบคุมเวลาในการเทคอนกรีตควรให้ต่อเนื่องกัน และการเทคอนกรีตในแต่ละ Bay ควรเป็นหน้าและเป็นแนวเดียวกัน
หรือการหยุดรอคอนกรีตควรหยุดให้เป็นแนวตั้งฉากกับ Joint ไม่ควรหยุดในลักษณะเว้าๆ แหว่งๆ
- การโปรยผง Hardener ควรโปรยด้วยความสม่ำเสมอใน 1 ตร.ม.
- การเก็บเกรียงด้วยมือควรใช้น้ำหนักกดเกรียงให้สม่ำเสมอ และช่วงระยะห่างของการเก็บเกรียงด้วยมือควรมีช่วงระยะ
ที่สม่ำเสมอ การเก็บรอยเกรียงควรทำไปพร้อมกับการเก็บเกรียงด้วยมือโดยใช้ไฟส่องดูว่าเป็นคลื่นหรือไม่และควรเก็บ
แต่งก่อนผิวหน้าจะ Set ตัว
ข้อควรระวัง
1. ไม่ควรให้คนงานเดินบนเหล็กเสริมเพราะอาจทำให้เหล็กคด งอ เสียรูปทรงได้
2. ก่อนเทคอนกรีต ทุกครั้งควรให้ Survey มา Recheck ฉาก Set ระดับก่อนเสมอ และใช้ค่าระดับที่จุดเดียวกัน
3. ก่อนเทคอนกรีตควรลดระดับเผื่องาน Finishing ตามแบบไว้ก่อนเสมอ
4. ก่อนเทคอนกรีต ควรลงน้ำยากันปลวกก่อน 1 วัน
5. ต้องทำความสะอาดแบบก่อนเทคอนกรีตทุกครั้ง
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
1. เมื่อปูนเริ่มเซ็ทตัว (ทดสอบโดยการเหยียบด้วยเท้า)
2. ให้เปิดหน้าปูน ตามแนวขวางก่อน
3. เสร็จแล้วโรยผงรอบแรก + ปล่อยให้ผงอิ่มตัว ( Hardener ของ Sika ) โดยการโรยผง Hardener ควรโรยให้ความหนา
สม่ำเสมอ
4. เสร็จแล้วขัดหน้าตามแนวขวาง
5. ปรับระดับด้วยกล่องอลูมิเนียม ให้ได้ตามต้องการ
6. เสร็จแล้วโรยรอบสอง (ตามขั้นตอนแรก)
7. โรยรอบสองเสร็จ ดูหน้างานแล้วขัดถาด สลับตามขวาง ตามยาว
8. ขัดถาดไปเรื่อย ๆ จนดูว่าพอแล้ว ค่อยลงใบ
9. ลงใบให้ขัดตามขวาง และยาว
10. ดูว่าลงใบแล้วปูนแห้งพอที่จะเก็บเกรียง (ด้วยมือ) หรือยัง
11. การเก็บเกรียง ก็จะเก็บถอยหลังมาเรื่อย ๆ ประมาณ 3 รอบ
12. หลังจากขัดเสร็จ 24 ชม. ให้บ่มด้วยวิธีตามสเปค
3. การตรวจสอบก่อนการเทคอนกรีต และระหว่างการเทคอนกรีต
- ตรวจสอบระดับของ Lean Concrete และความเรียบร้อยของพลาสติก Sheet
- ตรวจสอบแนววางท่อ และระดับของลวดอัดแรงให้ได้ตามแบบ
- ตรวจสอบงานระบบที่อยู่ใต้พื้นให้ตรงตามแบบ
- ตรวจสอบเหล็กเสริมตามช่องเปิด และ Joint รวมทั้งบริเวณสมอยึด (Anchorage)
- ตรวจสอบเหล็กฉาก ว่าได้ระดับเท และได้แนว และมีความแข็งแรง
- ตรวจสอบว่ามีการจี้ปูนสม่ำเสมอหรือไม่ และ Slump ในการเทต้องได้ตามกำหนด
- ตรวจสอบการปาดหน้าปูน ปรับระดับด้วยกล่องอลูมิเนียมให้ได้ระดับ และเช็คด้วยกล้องระดับ
- ถ้าเหล็กเสริมติดแนว Tendon ให้ขยับเหล็กเสริมออกจากแนว Tendon ห้ามหักงอ Tendon เพื่อหลบเหล็กเสริมซึ่งจะทำให้เกิด
Friction loss สูง
- แนวการเทคอนกรีตต้องเป็นแนวเดียวกันตลอดห้ามเทตัดขวางกันเป็นสามแยก
4. การควบคุมผิว
- การควบคุม Slump ของ Concrete ต้องให้ได้ตามที่ Design และมีความสม่ำเสมอ
- การควบคุมเวลาในการเทคอนกรีตควรให้ต่อเนื่องกัน และการเทคอนกรีตในแต่ละ Bay ควรเป็นหน้าและเป็นแนวเดียวกัน
หรือการหยุดรอคอนกรีตควรหยุดให้เป็นแนวตั้งฉากกับ Joint ไม่ควรหยุดในลักษณะเว้าๆ แหว่งๆ
- การโปรยผง Hardener ควรโปรยด้วยความสม่ำเสมอใน 1 ตร.ม.
- การเก็บเกรียงด้วยมือควรใช้น้ำหนักกดเกรียงให้สม่ำเสมอ และช่วงระยะห่างของการเก็บเกรียงด้วยมือควรมีช่วงระยะ
ที่สม่ำเสมอ การเก็บรอยเกรียงควรทำไปพร้อมกับการเก็บเกรียงด้วยมือโดยใช้ไฟส่องดูว่าเป็นคลื่นหรือไม่และควรเก็บ
แต่งก่อนผิวหน้าจะ Set ตัว
ข้อควรระวัง
1. ไม่ควรให้คนงานเดินบนเหล็กเสริมเพราะอาจทำให้เหล็กคด งอ เสียรูปทรงได้
2. ก่อนเทคอนกรีต ทุกครั้งควรให้ Survey มา Recheck ฉาก Set ระดับก่อนเสมอ และใช้ค่าระดับที่จุดเดียวกัน
3. ก่อนเทคอนกรีตควรลดระดับเผื่องาน Finishing ตามแบบไว้ก่อนเสมอ
4. ก่อนเทคอนกรีต ควรลงน้ำยากันปลวกก่อน 1 วัน
5. ต้องทำความสะอาดแบบก่อนเทคอนกรีตทุกครั้ง
การปูพื้นด้วย Marblex Tile
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
17 กันยายน 2551
Marblex floor
METHOD STATEMENT OF MARBLEX
วิธีการติดตั้งกระเบื้องหินขัดสำเร็จรูป MARBLEX
ขั้นตอนการเตรียมพื้นที่
1. เตียมผังและระดับสูงต่ำด้วยด้ายเบอร์ 8
2. เตรียมปูนซีเมนต์ดำ 1 ส่วน ทราย 3 ส่วน ผสมด้วยน้ำอย่าให้เหลวเป็นตัวเชื่อม
3. วางแผ่น MARBLEX บนตัวเชื่อมทุกแผ่นให้ได้ระดับเสมอกัน และเว้นแนวตามเส้นด้ายที่เตรียมผังไว้ให้
แห้ง ประมาณ 1 - 2 วัน ( ในระหว่างที่ตัวเชื่อมยังไม่แห้งห้ามเหยียบย่ำหรือวางสิ่งของใด ๆ เด็ดขาด )
4. เมื่อพื้นแห้งแล้ว ใช้ปูนซีเมนต์ขาวยาแนวให้ทั่วทุกแผ่น หากกระเบื้องมีสีต่างกัน การยาแนวจะต้องผสม
สีกันฝุ่นกับปูนซีเมนต์ขาวให้คล้ายคลึงกับสีของกระเบื้องนั้น ๆ ทุกครั้ง
ขั้นตอนการขัดเงา
เมื่อเสร็จขั้นตอนการปูพื้นแล้ว ถ้ามีงานอื่นที่จะมีผลกระทบกับกระเบื้องหินขัด ควรติดตั้งงานดัง
กล่าวให้เสร็จก่อน
1. ใช้เครื่อง่ขัดโดยให้เริ่มจากหินขัดชนิดหยาบ เพื่อลบรอยต่อระหว่างแผ่น ระหว่างนี้หากปูนซีเมนต์ขาวที่
ยาแนวไว้หลุดให้ทำการยาแนวใหม่ก่อนทุกครั้ง
2. เมื่อขัดจนรอยต่อระหว่างแผ่นหมดไป จึงเปลี่ยนไปใช้หินขัดชนิดละเอียด ให้สังเกตว่าพื้นเรียบเสมอกัน
ทั้งหมดแล้ว (ไม่มีรอยขีดข่วนเนื่องจากการขัดหยาบ)
3. หลังจากนั้น ให้ใช้หินขัดเงา เพื่อให้พื้นมีความเงามากขึ้น
* การขัดหยาบ ขัดละเอียดและขัดเงาให้ใช้น้ำหล่อลื่นทุกครั้ง *
4. เมื่อเสร็จขั้นตอนข้างต้นแล้ว ให้ล้างทำความสะอาดพื้นแล้วทิ้งให้แห้งก่อนลงน้ำมันแว๊กซ์ และใช้เครื่อง
ปัดเงาให้ทั่วถึงทุกแผ่น พื้นที่ปูด้วย MARBLEX ก็จะเรียบเงาตามมารฐานทันที
วิธีการบำรุงรักษา
1. กวาดเศษผงฝุ่นละอองหรือเม็ดทราย ซึ่งเกาะอยู่ตามพื้นอาคารให้สะอาดก่อน หรือจะใช้เครื่องดูดฝุ่นก็ทำ
ให้พื้นสะอาดยิ่งขึ้น
2. ใช้ผ้าหรือม๊อบชุบน้ำหมาด ๆ เช็ดบริเวณพื้นอาคารก่อน 1 ครั้ง (ในกรณีที่พบคราบสกปรกมา ๆ ควรจะใช้
ผ้าชุบน้ำผสมผงซักฟอกทำความสะดาดก่อนทุกครั้ง) ถ้ายังไม่ออก ให้ใช้สก๊ตไบร์ทชุบผงซักฟอกขัด
บริเวณดังกล่าวอีกครั้ง จนคราบต่าง ๆ ออกาจนหมดแล้วใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดให้สะอาด และเช็ดให้แห้งอีกครั้ง
3. เมื่อเสร็จชั้นตอนตามข้อ 2 แล้ว สังเกตว่าพื้นแห้งสนิทหรือยัง (ระยะเวลาที่พื้นแห้งขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่จะทำ
ความสะอาดเสียก่อน จึงที่จะปฎิบัติตามคำแนะนำตั้งแต่ข้อ 1 ถึงข้อ 3 ให้เสร็จสิ้นเรียบร้อยทุกครั้ง จึงจะ
เปิดพื้นดังกล่าวตามปกติต่อไป
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
วิธีการติดตั้งกระเบื้องหินขัดสำเร็จรูป MARBLEX
ขั้นตอนการเตรียมพื้นที่
1. เตียมผังและระดับสูงต่ำด้วยด้ายเบอร์ 8
2. เตรียมปูนซีเมนต์ดำ 1 ส่วน ทราย 3 ส่วน ผสมด้วยน้ำอย่าให้เหลวเป็นตัวเชื่อม
3. วางแผ่น MARBLEX บนตัวเชื่อมทุกแผ่นให้ได้ระดับเสมอกัน และเว้นแนวตามเส้นด้ายที่เตรียมผังไว้ให้
แห้ง ประมาณ 1 - 2 วัน ( ในระหว่างที่ตัวเชื่อมยังไม่แห้งห้ามเหยียบย่ำหรือวางสิ่งของใด ๆ เด็ดขาด )
4. เมื่อพื้นแห้งแล้ว ใช้ปูนซีเมนต์ขาวยาแนวให้ทั่วทุกแผ่น หากกระเบื้องมีสีต่างกัน การยาแนวจะต้องผสม
สีกันฝุ่นกับปูนซีเมนต์ขาวให้คล้ายคลึงกับสีของกระเบื้องนั้น ๆ ทุกครั้ง
ขั้นตอนการขัดเงา
เมื่อเสร็จขั้นตอนการปูพื้นแล้ว ถ้ามีงานอื่นที่จะมีผลกระทบกับกระเบื้องหินขัด ควรติดตั้งงานดัง
กล่าวให้เสร็จก่อน
1. ใช้เครื่อง่ขัดโดยให้เริ่มจากหินขัดชนิดหยาบ เพื่อลบรอยต่อระหว่างแผ่น ระหว่างนี้หากปูนซีเมนต์ขาวที่
ยาแนวไว้หลุดให้ทำการยาแนวใหม่ก่อนทุกครั้ง
2. เมื่อขัดจนรอยต่อระหว่างแผ่นหมดไป จึงเปลี่ยนไปใช้หินขัดชนิดละเอียด ให้สังเกตว่าพื้นเรียบเสมอกัน
ทั้งหมดแล้ว (ไม่มีรอยขีดข่วนเนื่องจากการขัดหยาบ)
3. หลังจากนั้น ให้ใช้หินขัดเงา เพื่อให้พื้นมีความเงามากขึ้น
* การขัดหยาบ ขัดละเอียดและขัดเงาให้ใช้น้ำหล่อลื่นทุกครั้ง *
4. เมื่อเสร็จขั้นตอนข้างต้นแล้ว ให้ล้างทำความสะอาดพื้นแล้วทิ้งให้แห้งก่อนลงน้ำมันแว๊กซ์ และใช้เครื่อง
ปัดเงาให้ทั่วถึงทุกแผ่น พื้นที่ปูด้วย MARBLEX ก็จะเรียบเงาตามมารฐานทันที
วิธีการบำรุงรักษา
1. กวาดเศษผงฝุ่นละอองหรือเม็ดทราย ซึ่งเกาะอยู่ตามพื้นอาคารให้สะอาดก่อน หรือจะใช้เครื่องดูดฝุ่นก็ทำ
ให้พื้นสะอาดยิ่งขึ้น
2. ใช้ผ้าหรือม๊อบชุบน้ำหมาด ๆ เช็ดบริเวณพื้นอาคารก่อน 1 ครั้ง (ในกรณีที่พบคราบสกปรกมา ๆ ควรจะใช้
ผ้าชุบน้ำผสมผงซักฟอกทำความสะดาดก่อนทุกครั้ง) ถ้ายังไม่ออก ให้ใช้สก๊ตไบร์ทชุบผงซักฟอกขัด
บริเวณดังกล่าวอีกครั้ง จนคราบต่าง ๆ ออกาจนหมดแล้วใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดให้สะอาด และเช็ดให้แห้งอีกครั้ง
3. เมื่อเสร็จชั้นตอนตามข้อ 2 แล้ว สังเกตว่าพื้นแห้งสนิทหรือยัง (ระยะเวลาที่พื้นแห้งขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่จะทำ
ความสะอาดเสียก่อน จึงที่จะปฎิบัติตามคำแนะนำตั้งแต่ข้อ 1 ถึงข้อ 3 ให้เสร็จสิ้นเรียบร้อยทุกครั้ง จึงจะ
เปิดพื้นดังกล่าวตามปกติต่อไป
งานมุงหลังคาอาคารขาดใหญ่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)